Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78857
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยะลักษณ์ พุทธวงศ์-
dc.contributor.advisorสุพรรณิกา ลือชารัศมี-
dc.contributor.advisorกันต์สินี กันทะวงศ์วาร-
dc.contributor.authorปฏิภาณ บุญตันen_US
dc.date.accessioned2023-09-13T01:01:24Z-
dc.date.available2023-09-13T01:01:24Z-
dc.date.issued2566-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78857-
dc.description.abstractThailand has been struggling with the issue of insufficient savings for a significant amount of time. The savings rate in Thailand has been declining gradually from 11% of income in 2011 to an average of only 6.4% in 2019 (SCBEIC, 2020). Among the different generations of the population, it has been found that Gen Y has the lowest average savings-to-income ratio. For this study, a total of 367 subjects participated in an online questionnaire, and the effects were analyzed using Binary Probit Regression and the Tobit model. The study found that behavioral economic variables had varying effects on savings indicators, while mental accounting had a specific effect on savings intention. Self-control was found to impact both saving intention and actual behavior. In addition, personal socio-economic characteristics only affect the actual savings behavior. The positive impacts on actual savings behavior include income, years of education, and self-control, while a negative impact is having children in the family. The results of the study have led to the design of policies to support factors in the behavioral economics group that increases the willingness to save and to design policies that focus on increasing or decreasing the group of personal socio-economic variables. To increase the opportunity for greater savings and the size of the savings, both policies should be used in parallel. All of these suggestions aim to bring about a change in the saving behavior of Gen Y in Thailand, encouraging them to save more money.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectEconomic, Saving, Self-control, Mental accounting, Generation Yen_US
dc.titleบทบาทของตัวแปรเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมต่อการตัดสินใจในการออม กรณีศึกษาเจนวายประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeThe Role of behavioral economic factors on saving decision: the case of gen Y in Thailanden_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการออมกับการลงทุน -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashเจนเนอเรชันวาย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractประเทศไทยประสบปัญหาการออมเงินไม่เพียงพอมาอย่างยาวนาน โดยสถานการณ์การออมในประเทศไทยประชากรออมเงินทยอยลดลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2011 ที่ออมเฉลี่ยร้อยละ 11 ของรายได้ จนในปี 2019 การออมเฉลี่ยลดลงเหลือเพียงร้อยละ 6.4 (SCBEIC, 2020). ยิ่งไปกว่านั้นถ้าหากมองลึกลงไปในแต่ละรุ่นของประชากรพบว่า Gen Y มีสัดส่วนของการออมต่อรายได้โดยเฉลี่ยต่ำที่สุดเมื่อเทียบกับเจนอื่นๆ ที่อยู่ในวัยทำงาน ในการศึกษาครั้งนี้ได้ทำการใช้แบบสอบถามออนไลน์และใช้ตัวอย่างทั้งสิ้น 367 คนและทำการศึกษาผลกระทบโดยใช้แบบจำลอง Binary Probit regression และ Tobit model ผลการศึกษาพบว่า ตัวแปรทางด้านเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมนั้นส่งผลต่อตัวชี้วัดการออมแตกต่างกัน โดยที่ บัญชีทางใจส่งผลกระทบเฉพาะต่อความตั้งในการออม ส่วนการควบคุมตนเองนั้นส่งผลกระทบต่อความตั้งใจในการออมและพฤติกรรมการออมที่เกิดขึ้นจริง และนอกจากนี้ตัวแปรทางด้านลักษณะเศรษฐกิจและสังคมของส่วนบุคคลส่งผลกระทบเฉพาะพฤติกรรมการออมที่เกิดขึ้นจริง โดยที่ผลกระทบเชิงบวกต่อพฤติกรรมการออมที่เกิดขึ้นจริงได้แก่ รายได้,จำนวนปีที่ได้รับการศึกษา,การควบคุมตนเอง ส่งผลกระทบทางลบได้แก่ การมีเด็กในครอบครัว จากผลลัพธ์ของการศึกษานำไปสู่การออกแบบนโยบายที่จะสนับสนุนปัจจัยในกลุ่มเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมเพื่อเพิ่มความตั้งใจในการออมและออกแบบนโยบายที่เน้นการทำให้เกิดการเพิ่มขึ้นหรือลดลงในกลุ่มของตัวแปรลักษณะเศรษฐกิจและสังคมของส่วนบุคคลเพื่อที่จะเพิ่มโอกาสการมีเงินออมและขนาดของเงินออมให้มากขึ้น โดยที่ทั้งสองนโยบายดังกล่าวจะต้องใช้ควบคู่กันไป เพื่อที่จะทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออมของ Gen Y ใน ประเทศไทยให้ออมเงินมากขึ้นen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631631004-ปฏิภาณ บุญตัน.pdfcomplete file of thesis1.08 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.