Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78851
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPrasit Leepreecha-
dc.contributor.authorGeng, Xixien_US
dc.date.accessioned2023-09-12T01:48:24Z-
dc.date.available2023-09-12T01:48:24Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78851-
dc.description.abstractEthnic minorities in Northern Thailand, especially highlanders, have long been subjugated to controls of external powerful entities who claim the sovereignty over territories these minorities have inhabited for generations. This control and stigmatization has intensified since the building of the nation-state, and the significance of the borderland, with its rich resources and strategic geographical position, being recognized by subsequent ruling parties. One the other hand, it is my thesis that many entrepreneurial minds in highland communities, appear to have subverted this value of the periphery facilitated by the ever changing social-economical dynamics of the globalized era. Infused with ethnic values and identities, the coffee entrepreneurial businesses founded in the mountainous area of Northern Thailand have wisely linked the uniqueness of the ethnic value to emergent global values, taking advantage of their access to resources in the borderlands and people’s increased passion in non-materialistic cultural and affective consumption. The co-existence of the structure of modernity and localized (capitalized) value is of particular interest to me and has left a puzzle to me to unravel through this research. My research focused on two emerging coffee businesses initiated by ethnic people from a village in the area of Doi Chang, Chiang Rai province, which is a renowned mountainous area for its coffee plantations and related businesses. Through an analysis of these two case studies, I have managed to achieve some understanding of how these e two businesses took up different models and creative strategies towards changing political, social and economic dynamics for the purpose of social-economical betterment of both the entrepreneurs and their communities, and the impacts of each on the community. Their ideologies and practices imply a morph of capitalist market paradigm prevalent in Thai society infused with traditional local values under the context of Doi Chang and globalization.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectethnic highlanders, entrepreneurship, ethnic identity, coffee, Doi Changen_US
dc.titleCoffee and ethnic entrepreneurship at Doi Chang in Chiang Rai provinceen_US
dc.title.alternativeกาแฟกับวิสาหกิจชาติพันธุ์ที่ดอยช้างในจังหวัดเชียงรายen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashCoffee -- Chiang Rai-
thailis.controlvocab.thashDoi Chang-
thailis.controlvocab.thashEthnocentrism -- Chiang Rai-
thailis.controlvocab.thashEntrepreneurship -- Chiang Rai-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractกลุ่มชาติพันธุ์ที่เป็นชนกลุ่มน้อยทางภาคเหนือของประเทศไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งชาวเขาที่ตกอยู่ภายใต้การควบคุมของหน่วยงานภายนอกที่มีอำนาจซึ่งอ้างอธิปไตยเหนือดินแดนที่ชนกลุ่มน้อยเหล่านี้อาศัยอยู่มาหลายชั่วอายุคน การควบคุมและการตีตรานี้ทวีความรุนแรงมากขึ้นนับตั้งแต่มีการสร้างรัฐชาติและการให้ความสำคัญของพื้นที่ชายแดนที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์และตำแหน่งทางภูมิศาสตร์เชิงยุทธศาสตร์ซึ่งได้รับการยอมรับจากกลุ่มผู้ปกครองที่ตามมา ในทางตรงกันข้าม ผู้วิจัยยืนยันว่าความคิดของผู้ประกอบการจำนวนมากในชุมชนบนพื้นที่สูงที่เป็นพื้นที่ชายขอบพยายามลบล้างกระแสดังกล่าวด้วยการก้าวข้ามสู่กระแสพลวัตทางสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาในยุคโลกาภิวัตน์ธุรกิจผู้ประกอบการกาแฟที่ก่อตั้งขึ้นในพื้นที่ภูเขาทางภาคเหนือของประเทศไทยผสมผสานกับคุณค่าทางชาติพันธุ์ได้เชื่อมโยงเอกลักษณ์และคุณค่าทางชาติพันธุ์อย่างชาญฉลาดเข้ากับคุณค่าระดับสากลที่เกิดขึ้นใหม่โดยใช้ประโยชน์จากการเข้าถึงทรัพยากรในพื้นที่ชายแดนและความหลงใหลที่เพิ่มขึ้นของผู้คนในการบริโภคทางวัฒนธรรมและที่ไม่ใช่วัตถุนิยม การผสานกันของโครงสร้างของความทันสมัยจากภายนอกและมูลค่า (การถูกทำให้กลายเป็นสินค้า) ของท้องถิ่นเป็นปริศนาที่น่าสนใจเป็นพิเศษสำหรับผู้ศึกษาในการทำความเข้าใจผ่านงานวิจัยชิ้นนี้การวิจัยของผู้ศ้ึกษามุ่งเน้นไปที่ธุรกิจกาแฟที่เกิดขึ้นใหม่สองธุรกิจที่ริเริ่มโดยกลุ่มชาติพันธุ์จากหมู่บ้านในพื้นที่ดอยช้าง จังหวัดเชียงราย ซึ่งเป็นพื้นที่ภูเขาที่มีชื่อเสียงในด้านการปลูกกาแฟและธุรกิจอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกาแฟ จากการวิเคราะห์กรณีศึกษาทั้งสองนี้ผู้ศึกษาสามารถทำความเข้าใจบางอย่างเกี่ยวกับวิธีการที่ธุรกิจทั้งสองนี้ใช้รูปแบบและกลยุทธ์ที่แตกต่างกันในการปรับเปลี่ยนพลวัตด้านการเมือง ด้านสังคม และด้านเศรษฐกิจ โดยมีจุดประสงคเ์พื่อปรับปรุงเศรษฐกิจสังคมของทั้งผู้ประกอบการและชุมชนของพวกเขา และผลกระทบของแต่ละธุรกิจที่มีต่อชุมชน ซึ่งอุดมการณ์และแนวปฏิบัติของพวกเขาบ่งบอกถึงการเปลี่ยนแปลงของกระบวนทัศน์ตลาดทุนนิยมที่แพร่หลายในสังคมไทยซึ่งผสมผสานกับค่านิยมดั้งเดิมของท้องถิ่นภายใต้บริบทของดอยช้างที่เชื่อมโยงกับโลกาภิวัตน์en_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610435814 Xixi Geng.pdf610435814 Xixi Geng.pdf1.94 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.