Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78828
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorParud Boonsriton-
dc.contributor.advisorThongchai Phuwanatwichit-
dc.contributor.advisorChetthapoom Wannapaisan-
dc.contributor.authorArdej Upananen_US
dc.date.accessioned2023-09-09T14:45:49Z-
dc.date.available2023-09-09T14:45:49Z-
dc.date.issued2021-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78828-
dc.description.abstractThis research on "The Concepts and Processes of Social Development in Kruba Way" had the purposes 1) to study conditions of socicty and culture in the Way of Kruba contexts, 2) to synthesize the Way of Kruba concept in the contexts of Lanna society, and 3) to create and present the social development model in the Way of Kruba. The research was the qualitative study which analyzed the data from the interview, focused group, and participative and non-participative observation. The study results were classified into 3 parts as follows. Part 1 was concerned with the study on conditions of society and culture in the path of Khruba contexts. It was found that the conditions of society and culture in the Way of Kruba contexts were in 4 distinctive paths of Kruba. Firstly, Kruba Sriwichai included 3 distinctive paths: 1) cultural revitalization as community leadership in politics and government, 2) economic recovery with attendants of monks, and 3) building faiths and being refuges for the community. Secondly, Kruba Phromchak contained 3 distinctive paths: 1) existence according to preceptors' teaching, 2) preservation of Buddhism and role models of Dhamma practice, and 3 ) teaching public to peaceful way of life. Thirdly, Kruba Khao Pi consisted of 3 distinctive paths: 1) relationship with ethnic groups and social movement, 2) power of faith and refuge of mind for Pow Karen, and 3) inheritance of Kruba Sriwichai's notions and concepts to the development of religion, education, and public welfare. Finally, Khruba Chaiya Wongsa had 2 distinctive paths: 1) spiritual refuge for Pgaz K'Nyau ethic group, and 2) relationship of ethnic groups and local development. Part 2 involved with the synthesis of the Way of Kruba concept in the contexts of Lanna society. This part was continued from the study of Part 1 to illustrate the Way of Kruba in 4 concepts: 1) the Way of Kruba Sriwichai referring to the concept of human development for sustainable value; 2) the Way of Kruba Phromchak referring to the concept of metacognitive seekers for value; 3) the Way of Kruba Khao Pi referring to the concept of applied knowledge for expansion of development, and 4) the Way of Kruba Chaiya Wongsa referring to the concept of creators for social maintenance. These 4 concepts illustrates the practice in 4 paths of Kruba to the competency development of the people in Lampoon, leading to the arrangement of activity models for promoting the important competencies of good citizenship in Lampoon. These concepts can be used later in arranging the next modules. Part 3 dealt with creation and presentation of the social development model in the Way of Kruba in the development modules of learning management through the Way of Kruba for the sustainable societies. There are 5 modules: 1) Way of Kruba to learn Sangha value for society (Panyatham or wisdom), 2) Way of Kruba to learn community cultural heritage (Karawatham or reverence), 3) path of Khruba to develop sustainable societies (Sangkhahatham or coexistence, and Santitham or peace), 4) Way of Kruba for creative learning (Sujarittham or honest), and 5) Way of Kruba for being strong Lampoon citizens (Khantitham or toleration). These 5 modules are used for learning arrangement the technique of "SSCC for KRUBA' Model" to clearly show the attributes to competencies of self-reliance, strong Lampoon citizenship, conservationists, inheritance of arts and cultures, and creative learning. In conclusion, the research on the concept and process of social development in the Way of Kruba can propose the innovation for competency promotion and development with sustainability in a concrete way.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleThe Concepts and processes of social development in Kruba wayen_US
dc.title.alternativeแนวคิดและกระบวนการพัฒนาสังคมตามวิถีครูบาen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshSriwichai, Kruba, 2421-2481-
thailis.controlvocab.thashSocial development -- Lampoon-
thailis.controlvocab.thashSocial development -- Religious aspects-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยเรื่อง แนวคิดและกระบวนการพัฒนาสังคมในวิถีครูบามีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพสังคมและวัฒนธรรมภายใต้บริบทวิถีครูบา 2) เพื่อสังเคราะห์แนวคิดวิถีครูบาใน บริบทสังคมล้านนา และ 3) เพื่อสร้างและนำเสนอรูปแบบการพัฒนาสังคมในวิถีครูบา เป็นลักษณะ วิจัยเชิงคุณภาพโดยวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม การสังเกตทั้งแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วมจากผู้เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ส่วนดังนี้ ส่วนที่ 1 จากการศึกษาสภาพสังคม และวัฒนธรรมภายใต้บริบทวิถีครูบา พบว่าสภาพสังคม และวัฒนธรรมภายใด้บริบทวิถีครูบาทั้งหมด 4 รูป สามารถนำเสนอวิถีที่ ใดดเด่นของครูบาทั้ง 4 รูป ดังนี้ ได้แก่ 1) ครูบาศรีวิชัย พบว่ามีวิถีที่ โดดเด่น 3 วิถื คือ (1) การฟื้นฟูวัฒนธรรมในฐานะผู้นำชุมชน ด้านการเมืองการปกครอง (2) การฟื้นฟูเศรษฐกิจโดยมีผู้อุปัฏฐาก (3) การสร้างศรัทธาและการเป็น สรณะของชุมชน 2) ครูบาพรหมจักร พบว่ามีวิถีที่ โดดเด่น 3 วิถื คือ (1) การดำรงตนตามวัจนะของ อุปัชฌาย์ (2) การทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาและการเป็นด้นแบบแห่งการปฏิบัติธรรม 3) คำสอน สาธารณชนสู่หนทางชีวิตที่สงบสุข 3) ครูบาขาวปี พบว่ามีวิถีที่ โดดเด่นคือ (1) ความสัมพันธ์กลุ่มชาติ พันธ์กับขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม (2) พลังศรัทธาและสรณะแห่งจิตใจของกลุ่มกะเหรี่ยงโปว์ (3) การสืบทอดความคิด แนวคิดจากครูบาศรีวิชัยสู่การพัฒนาด้านศาสนา การศึกษา และสาธารณสงเคราะห์และ 4) ครูบาชัยยะวงศา พบว่ามีวิถีที่โดดเด่น 2 วิถื คือ (1) สรณะแห่งจิตวิญญาณของ ชาติพันธุ์ปะกาเกอญอ (2) สัมพันธภาพของกลุ่มชาติพันธุ์กับการพัฒนาท้องถิ่น ต่อมาส่วนที่ 2 จากการสังเคราะห์แนวคิดวิถีครูบาในบริบทสังคมล้านนา เป็นการศึกษา ต่อเนื่องจากส่วนที่ 1 สามารถแสดงให้เห็นแนวคิดวิถีครูบา โดยแบ่งเป็น 4 แนวคิด ดังนี้ 1) แนวคิดวิถี ครูบาศรีวิชัย คือ แนวคิดผู้พัฒนาสู่คุณค่าที่ยั่งยืน 2) แนวคิดวิถีครูบาพรหมจักร คือ แนวคิดผู้แสวงหา อภิปัญญาสู่คุณค่า 3) แนวคิดครูบาขาวปี คือแนวคิดผู้ประยุกต์องค์ความรู้สู่การพัฒนาต่อยอด และ 4) แนวคิดวิถีครูบาชัยยะวงศา คือแนวคิดผู้สร้างสรรค์สู่การธำรงสังคม ทั้ง 4 แนวคิดดังกล่าวแสดงให้ เห็นถึงวิถีปฏิบัติจากแนวคิดวิถี 4 ครูบาสู่การพัฒนาสมรรถนะที่สำคัญของพลเมืองลำพูน นำไปสู่ รูปแบบการจัดกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาสมรรถนะสำคัญของพลเมืองดีสำหรับคนลำพูน และแสดง ให้เห็นถึงการนำไปใช้โดยการจัดทำโมดูลต่อไปสำหรับส่วนที่ 3 สามารถสร้างและนำเสนอรูปแบบการพัฒนาสังคมในวิถีครูบาในรูปแบบ ของโมดูลการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ผ่านวิถีครูบาเพื่อพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน แบ่งออกเป็น 5 โมดูล ดังนี้ 1) วิถีครูบาเพื่อการเรียนรู้คุณค่าสังฆะเพื่อสังคม (ปัญญาธรรม) 2)วิถีครูบาเพื่อการเรียนรู้มรดก วัฒนธรรมชุมชน (คารวะธรรม) 3) วิถีครูบาเพื่อการพัฒนาสังคมอย่างยังยืน (สังคหธรรม และ สันติ ธรรม) 4) วิถีครูบาเพื่อการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ (สุจริตธรรม) 3) วิถีครูบาเพื่อความเป็นพลเมืองถํพูน เข้มแข็ง (ขันติธรรม)ทั้ง 5 โมดูลมีแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค "SSCC for KRUBA'S Model" ซึ่งแสดงให้เห็นว่าคุณลักษณะสู่สมรรถณะที่ปรากฎอย่างเด่นชัด คือ การพึ่งตนเอง การเป็น พลเมืองลำพูนเข้มแข็ง การเป็นผู้อนุรักษ์ สืบทอดศิลปวัฒนธรรม และ เรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์ เห็นได้ว่างานวิจัยเรื่องแนวคิดและกระบวนการพัฒนาสังคมในวิถีครูบา เป็นการนำเสนอนวัตกรรม ด้านการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมสมรรถณะและการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้อย่างเป็นรูปธรรมen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580252014 อาเดช อุปนันท์.pdf1.79 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.