Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78827
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorMonnapat Manokarn-
dc.contributor.advisorChoocheep Puthaprasert-
dc.contributor.advisorPhetcharee Rupavijetra-
dc.contributor.authorSupap Kumapunen_US
dc.date.accessioned2023-09-09T14:26:42Z-
dc.date.available2023-09-09T14:26:42Z-
dc.date.issued2021-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78827-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1. to study the problems, risk factors , and contributing factors in disciplinary procedures of government teachers and educational personnel under the educational service area office ; 2. to create and validate risk management model of the disciplinary procedures for government teachers and educational personnel under the educational service area office; 3. to assess risk management model of the disciplinary procedures for government teachers and educational personnel under the educational service area office . The research was divided into 3 steps: Step 1 to study problems, risk factors, and contributing factors in disciplinary procedures of government teachers and educational personnel under the educational service area office; this step was to study the document and related research and survey of the opinions of the target group as 225 directors of the legal and litigation group from 225 educational service area offices. Data were collected by questionnaire. Step 2 to create and validate risk management model of the disciplinary procedures for government teachers and educational personnel under the educational service area office ; this step was to draft the risk management model by applying the results of the survey in Step 1 to draft and then bring the draft model to 7 qualified persons to check for accuracy and appropriateness employing focus group discussion. Step 3 to assess risk management model of the disciplinary procedures for government teachers and educational personnel under the educational service area office; this step was to assess the model from Step 2, then the revised model used for trying out with the target group as 245 directors of the legal and litigation group from 245 educational service area offices and 18 chairmen of the board of directors of education area group from 18 inspectorate areas. The assessment was for the feasibility and the usefulness of the model application, and the data were collected from the assessment form. The results revealed that 1. Disciplinary procedures had problems and risk factors in three aspects: 1.1 Process, 1.2 Personnel, and 1.3 Legal Regulations. Overall, the problems were at a moderate level while each aspect with the most problem was Legal Regulations, followed by Process and Personnel, respectively. The overall opinions on the risk factors were at a high level. As for each aspect, it was found that Personnel had the highest risk, followed by Legal Regulations and Process, respectively; 2. Drafting risk management model of the disciplinary procedures for government teachers and educational personnel under the educational service area office applied the System Theory as a framework, drafting consisted of five elements as follows: 2.1 Input: 1) Process 2) Personnel and 3) Legal Regulations; 2.2 Process: application of the concept of COSO (The Committee of Sponsoring Organization of The Treadway Commission) for risk management of disciplinary procedures consisted of 1) Internal Environment 2)Objective Setting 3)Risk Identification 4)Risk Assessment 5)Risk Response 6) Control activities 7) Information and Communication and 8) Monitoring;2.3 Output: the result of disciplinary procedures; 2.4 Feedback: the positive and the negative feedback from disciplinary procedures; 2.5 Environment: the contributing and the obstacle factors of disciplinary procedures, and the results of validation in risk management model of the disciplinary procedures for government teachers and educational personnel under the educational service area office were accurate and appropriate., and 3. Assessing risk management model of the disciplinary procedures for government teachers and educational personnel under the educational service area office had the overall opinions on feasibility and usefulness were at a high level.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleRisk management model of the disciplinary procedures for government teachers and educational personnel under the educational service area officeen_US
dc.title.alternativeรูปแบบการบริหารความเสี่ยงในการดำเนินการทางวินัยข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshTeachers -- Discipline-
thailis.controlvocab.lcshRisk management-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาปัญหา ปัจจัยเสี่ยง และ ปัจจัยเอื้อในการดำเนินการทาง วินัยข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 2. สร้างและ ตรวจสอบรูปแบบการบริหารความเสี่ยงในการดำเนินการทางวินัยข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 3. ประเมินรูปแบบการบริหารความเสี่ยงในการดำเนินการ ทางวินัยข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา การวิจัยมี 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาปัญหา ปัจจัยสี่ยง และปัจจัยเอื้อในการดำเนินการทางวินัยข้าราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา โดยศึกษาเอกสาร งานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง และสำรวจความคิดเห็นของผู้อำนวยการกลุ่มกฎหมายและคดี จำนวน 225 คน เครื่องมือ เก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและตรวจสอบรูปแบบการบริหารความ เสี่ยงในการดำเนินการทางวินัยข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา โดยนำข้อมูลจากขั้นตอนที่ 1 มายกร่างรูปแบบแล้วนำไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน ตรวจสอบความถูกต้องและความเหมาะสมโดยการสนทนากลุ่ม ขั้นตอนที่ 3 การประเมินรูปแบบการ บริหารความเสี่ยงในการดำเนินการทางวินัยข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ด้านความเป็นไปได้และความมีประโยชน์ในการนำไปใช้ ประเมินโดย ผู้อำนวยการกลุ่มกฎหมายและคดี จำนวน 245 คน และประธานกรรมการบริหารกลุ่มพื้นที่การศึกษา ประจำเขตตรวจราชการ จำนวน 18 คน เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบประเมินผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการดำเนินการทางวินัขข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีปัญหาและปัจจัยสี่ยง 3 านได้แก่ 1.1 ด้านกระบวนการ 1.2 ด้าน บุคลากร 1.3 ด้านระเบียบกฎหมาย ภาพรวมของปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนรายด้านพบว่า ปัญหามากที่สุดคือ ด้านระเบียบกฎหมาย รองลงมาคือด้านกระบวนการ และด้านบุคลากร ตามลำดับ สำหรับปัจจัยเสี่ยง ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนรายด้านพบว่ามีความเสี่ยงมากที่สุดคือด้านบุคลากร รองลงมาคือด้านระเบียบกฎหมาย และด้านกระบวนการ ตามลำดับ 2. ผลการสร้างรูปแบบการ บริหารความเสี่ยงในการดำเนินการทางวินัยข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ใช้แนวคิดทฤษฎีระบบเป็นกรอบในการยกร่างมี 5 องค์ประกอบดังนี้ 2.1 ปัจจัย นำเข้า ได้แก่ 1) กระบวนการ 2) บุคลากร และ 3 ระเบียบกฎหมาย 2.2 กระบวนการ ใช้แนวคิดของ COSO (The Committee of Sponsoring Organization of The Treadway Commission) เป็นแนวทางในการบริหารความเสี่ยง ได้แก่ 1) สภาพแวดล้อมภายในองค์กร 2) การกำหนด วัตถุประสงค์ 3) การระบุความเสี่ยง 4) การประเมินความเสี่ยง 5) การจัดการความเสี่ยง 6) กิจกรรม ควบคุม 7) สารสนเทศและการสื่อสาร และ 8) การติดตามผล 2.3 ผลผลิต คือผลของการดำเนินการ ทางวินัย 2.4 ผลย้อนกลับ ได้แก่ ผลย้อนกลับเชิงบวกและผลย้อนกลับเชิงลบจากการดำเนินการทาง วินัย 2.5 สภาพแวดล้อม ได้แก่ ป้จจัยเอื้อและปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินการทางวินัย สำหรับ ผลการตร วจสอบรูปแบบมีความถูกต้องและมีความเหมาะสม 3. ผลการประเมินรูปแบบการบริหาร ความเสี่ยงในการดำเนินการทางวินัยข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา มีความป็นไปได้และความมีประโยชน์ในการนำไปใช้ ภาพรวมอยู่ในระดับมากen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580252012 สุภาพ กุมาพันธ์.pdf4.11 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.