Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78812
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPensak Jantrawut-
dc.contributor.authorBaramee Chanabodeechalermrungen_US
dc.date.accessioned2023-09-09T07:08:10Z-
dc.date.available2023-09-09T07:08:10Z-
dc.date.issued2022-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78812-
dc.description.abstractThis study aims to develop hydrogel containing bacterial cellulose (BC) for wound dressing application. Hydrogels were prepared by dispersing BC in 40 %w/w polyethylene glycol 1500 (PEG 1500) solution after that, mixed with sodium alginate (A) solution or pectin (P) solution or sodium alginate and pectin solution, fabricated via a physical crosslinking technique using 3 %w/v calcium chloride (CaCl2) solution, and then incorporated with polyhexamethylene biguanide (PHMB), which is an effective antimicrobial drug by immersion technique. After hydrogel preparation, the physicochemical properties of all hydrogel formulations were investigated. Our results found that hydrogel incorporated sodium alginate shrunk when crosslinking with CaCl2 solution made hydrogel composites denser resulting in increasing puncture strength, and hydrogel incorporated sodium alginate without PHMB had fluff surface unlike the other formulations, that had smooth surface. Moreover, the formulations with PHMB performed better physicochemical properties than the hydrogels without PHMB. Interestingly, Fourier transform infrared spectroscopy (FT-IR) revealed the possible interaction between PHMB and the carboxylic group of sodium alginate and pectin. BC/A-PHMB hydrogel performed suitable mechanical strength, fluid uptake ability, water retention property, drug content, high integrity value, and maximum swelling degree. Additionally, in vitro cell cytotoxicity of BC/A-PHMB hydrogel revealed high biocompatibility with human keratinocyte cell line (HaCaT) and possessed prolong released of PHMB in Tris-HCl buffer pH 7.4, while rapid release in phosphate buffer saline (PBS) pH 7.4 since sodium alginate in BC/A-PHMB can bind to phosphate ion in PBS resulting in PHMB release. Moreover, BC/A-PHMB hydrogel possessed excellent anti-bacterial activity against Staphylococcus aureus and Pseudomonas aeruginosa. In conclusion, BC/A-PHMB hydrogel could be a potential dual crosslinked ion-based hydrogel for modern wound dressing with excellent anti-bacterial activity.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleDevelopment of hydrogel containing bacterial cellulose for wound dressing applicationen_US
dc.title.alternativeการพัฒนาไฮโดรเจลที่มีเซลลูโลสจากแบคทีเรียเพื่อใช้เป็นวัสดุปิดแผลen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshHydrogel-
thailis.controlvocab.lcshBacterial cellulose-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาไฮโดรเจลที่มีเซลลูโลสจากแบคทีเรียเป็นองค์ประกอบ เพื่อใช้เป็นวัสดุปิดแผล ไฮโดรเจลถูกเตรียมขึ้นโดยกระจายเซลลูโลสจากแบคทีเรียในสารละลายพอลิเอทิลลีน ไกลคอล 1500 ความเข้มข้นร้อยละ 40 โดยมวลต่อมวล หลังจากนั้นนำสารผสมที่ได้ผสมกับสารละลายโซเดียมอัลจิเนต หรือ สารละลายเพกติน หรือสารละลายผสมระหว่างโซเดียมอัลจิเนตและเพกติน และใช้เทคนิคการเชื่อมขวางทางกายภาพด้วยสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ความเข้มข้นร้อยละ 3 โดยมวลต่อปริมาตร เพื่อให้เกิดไฮโดรเจล หลังจากนั้นทำการเติมสารพอลิเฮกซะเมทิลลีนไบกวาไนด์ ซึ่งเป็นสารต้านเชื้อจุลชีพลงไปในตำรับ โดยใช้วิธีการแช่ หลังจากเตรียมไฮโดรเจลแล้ว คุณสมบัติทางเคมีกายภาพของไฮโดรเจลทุกตำรับจะถูกประเมิน ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าตำรับไฮโดรเจลที่มีอัลจิเนตเป็นองค์ประกอบเกิดการหดตัว ขณะเชื่อมขวางด้วยสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ ทำให้องค์ประกอบภายในเกิดการจับตัวกันแน่นขึ้น ส่งผลให้ค่า puncture strength เพิ่มขึ้น และไฮโดรเจลที่มีโซเดียมอัลจิเนตเป็นองค์ประกอบที่ไม่มีสารพอลิเฮกซะเมทิลลีนไบกวาไนด์ มีผิวหน้าเป็นขุย ขรุขระ แตกต่างจากไฮโดรเจลตำรับอื่นๆ ที่มีผิวหน้าที่เรียบ ยิ่งไปกว่านั้นตำรับไฮโดรเจลที่มีสารพอลิเฮกซะเมทิลลีนไบกวาไนด์ มีคุณสมบัติทางเคมีกายภาพที่ดีกว่าตำรับที่ไม่มีสารพอลิเฮกซะเมทิลลีนไบกวาไนด์ หลังการทดลองโดยใช้เครื่อง Fourier transform infrared spectroscopy (FT-IR) พบอันตรกิริยาที่เป็นไปได้ของหมู่คาร์บอกซิลิกของโซเดียมอัลจิเนต และเพกติน กับสารพอลิเฮกซะเมทิลลีนไบกวาไนด์ อย่างไรก็ตามไฮโดรเจลตำรับ BC/A-PHMB มีคุณสมบัติทางเคมีกายภาพที่เหมาะสมที่สุด ไม่ว่าจะเป็นในด้านของคุณสมบัติเชิงกล ประสิทธิภาพการดูดซับของเหลว ความสามารถในการกักเก็บของเหลว ปริมาณตัวยาในตำรับ ค่าความคงทนที่สูง รวมไปถึงค่าการพองตัวสูงสุด นอกจากนี้การทดลองความเป็นพิษต่อเซลล์ พบว่า BC/A-PHMB มีความเข้ากันได้ทางชีวภาพกับเซลล์ผิวหนัง (HaCaT) ซึ่งเป็นเซลล์เคราติโนไซต์ของมนุษย์ และยังมีการปลดปล่อย PHMB ในรูปแบบที่มีการปลดปล่อยตัวยาออกมาอย่างช้าๆ ในสารละลายทริส บัฟเฟอร์ (Tris-HCl buffer) ค่าความเป็นกรดด่างเท่ากับ 7.4 แต่มีการปลดปล่อย PHMB ออกมาค่อนข้างไวในสารละลายฟอสเฟตบัฟเฟอร์ซาไลน์ (PBS) ค่าความเป็นกรดด่างเท่ากับ 7.4 เนื่องจากโซเดียมอัลจิเนตใน BC/A-PHMB สามารถจับกับฟอสเฟตไอออนในสารละลายได้ ส่งผลทำให้ PHMB เกิดการปลดปล่อยออกมา นอกจากนี้ BC/A-PHMB มีสมบัติในการต้านเชื้อ สแตฟิโลค็อกคัส ออเรียส (Staphylococcus aureus) และ ซูโดโมแนส แอรูจิโนซา (Pseudomonas aeruginosa) อย่างดีเยี่ยม โดยสรุปแล้ว BC/A-PHMB สามารถเป็นไฮโดรเจลที่เตรียมจากการเชื่อมขวางคู่ด้วยไอออนที่มีประสิทธิภาพ และใช้เป็นวัสดุปิดแผลสมัยใหม่ที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียที่ดีเยี่ยมen_US
Appears in Collections:PHARMACY: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesis Baramee Chanabodeechalermrung 641031042.pdf567.45 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.