Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78773
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรพงศ์ ตระการศิรินนท์-
dc.contributor.authorปวันกร เพลัยen_US
dc.date.accessioned2023-09-03T13:45:55Z-
dc.date.available2023-09-03T13:45:55Z-
dc.date.issued2021-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78773-
dc.description.abstractThe objectives of this study were to: 1) determine guidelines for community forest management by Karen ethnic groups; and 2) determine Karen ethnic groups' participation in community forest management and forest conservation in Ban Mae Mhee, Village No. 8, Hua Mueang Subdistrict, Mueang Pan District. This research is a qualitative research and interview forms were used as a data collection tool. Two types of interviews were conducted: in-depth interviews with three key informants, including community leaders, seniors, and community sages, and group discussions with five key informants, including community members. The findings of this study revealed that the guidelines for community forest management and forest conservation of Karen ethnic groups are derived from the way of life, cultures, wisdom and belief. This study found that the forest can be divided by belief in 2 types: 1) conservation community forests and 2) functional community forests. Furthermore, this study discovered that Ban Mae Mhee's way of life, culture, wisdom and belief lead to the rules and regulations for community forest management and forest conservation. It also has an impact on the process of community members participation.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการป่าชุมชนและอนุรักษ์ป่าไม้โดยกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง บ้านแม่หมี ตำบลหัวเมือง อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeThe Communal floral management and forest conservation by karen ethnic group of Baan Mae Mhee, Hua Mueang Subdistrict, Mueang Pan District, Lampang Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashกะเหรี่ยง -- เมืองปาน (ลำปาง)-
thailis.controlvocab.thashป่าชุมชน -- เมืองปาน (ลำปาง)-
thailis.controlvocab.thashภูมิปัญญาชาวบ้าน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวทางในการจัดการป่าชุมชน โดยกลุ่มชาติพันธุ์ กะเหรี่ยง 2) ศึกษาการมีส่วนร่วมในการจัดการป่าชุมชนและการอนุรักษ์ป่าของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง กรณีศึกษาบ้านแม่หมี หมู่ที่ 8 ตำบลหัวเมือง อำเภอเมืองปาน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการ วิจัยเชิงคุณภาพและใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ซึ่งแบ่งการสัมภาษณ์ออกเป็น 2 ประเภท คือ การสัมภายณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 3 คน ได้แก่ ผู้นำชุมชน ผู้อาวุโส ปราชญ์ ชุมชน และการสนทนากลุ่ม ผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 5 คน ได้แก่ สมาชิกภายในชุมชน ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า แนวทางในการจัดการป่าชุมชนและอนุรักษ์ป่าไม้ของกลุ่มชนชาติพันธุ์ กะเหรี่ยง มาจากวิถีชีวิต วัฒนธรรม ภูมิปัญญา และความเชื่อ ที่มีการสืบทอดกันมาอย่างยาวนาน โดยจากข้อค้นพบที่สำคัญนี้ สามารถแบ่งเป็นประเภทป่าไม้ได้ตามความเชื่อเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1) ป่าชุมชนอนุรักษ์ 2) ป่าชุมชนใช้สอย นอกจากนี้การวิจัยครั้งนี้ยังพบว่าวิถีชีวิต วัฒนธรรม ภูมิปัญญา และความเชื่อ ส่งผลทำให้เกิดหลักเกณฑ์ กฎระเบียบในการจัดการป่าชุมชนและอนุรักษ์ป้าไม้ บ้านแม่หมี่ อีกทั้งยังส่งผลต่อกระบวนการในการมีส่วนร่วมของสมาชิกในชุมชนตั้งแต่การประชุม จัดตั้งคณะกรรมการ การตั้งกองทุนการจัดการป การรวมกันลงมือปฏิบัติตามแผนงาน การสำรวจ พื้นที่ การดับไฟป้า การประเมินผลการดูแลรักษาปาประจำปี ฯลฯ จากวิถีชีวิต วัฒนธรรม ภูมิปัญญา ความเชื่อ และการมีส่วนร่วมในการจัดการป้าของชุมชนนั้นนำมาซึ่งความอุดมสมบูรณ์ของผืนปา และรางวัลในการจัดการป่าชุมชน คือรางวัล "ลูกโลกสีเขียว"en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621932016 ปวันกร เพลัย.pdf705.05 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.