Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78766
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจารึก สิงหปรีชา-
dc.contributor.advisorปิยะลักษณ์ พุทธวงศ์-
dc.contributor.authorพงศภัค แซ่เลี่ยวen_US
dc.date.accessioned2023-09-01T11:31:54Z-
dc.date.available2023-09-01T11:31:54Z-
dc.date.issued2021-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78766-
dc.description.abstractThe increased use of antibiotics in pork is one of the main causes of the spread of drug-resistant strains from animals to humans which has caused an estimated S100 trillion in economic damage, prompting industries call for the rational use of antibiotics in pork to alleviate drug-resistant strains. This is an idea that aligns with the strategic plan of management of antimicrobial resistance in Thailand 2017-2021 which led to the objectives of this study as follows. 1.) Evaluating the willingness to pay of consumers 2.) Studying factors that influence the willingness to pay 3.) Comparing impacts of information that affect the willingness to pay by using the Contingent Valuation Method and the One-Way-ANOVA. In addition, the survey design has been collected from a total of 920 people by Tobit Model. The results showed that the willingness to pay for pork equals to 95.56 Baht/Kilogram. The main factors that affect this willingness to pay are genders, education levels, family members, attitudes, knowledge, importance of certification marks, perception, number of children, impact of positive information, impact of negative information and severity of resistant strains are positive relation. The impact of information is significantly correlated with willingness to pay. The possibility in consumption tends to decrease when aggressive negative informed as the rational use of antibiotics pork is still not acceptable, coupled with concerns about the risks of consuming drug-resistant pork and the rising costs of medical care. All of these declined the willingness of consumers to pay for rational use of antibiotics pork. In addition, the prices obtained from the study will serve as a price medium between consumers and producers for the adoption of the new pork alternatives, leading to policies in terms of proper cost allocation and consumer protection policy to increase the controls to ensure that the standard of pork production is safe for human consumptionen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความเต็มใจจ่ายสำหรับเนิ้อสุกรที่เลี้ยงในฟาร์มโดยใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุสมผลในอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeWillingness to pay for pork at the farm by rational use of antibiotics in Mueang District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashความเต็มใจจ่าย -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashสุกร -- การจัดซื้อ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการใช้ยาปฏิชีวนะในเนื้อสุกรที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเป็นหนึ่งในสาเหตุหลักของการแพร่กระจายของ เชื้อดื้อยาจากสัตว์สู่คนซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่ได้สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจประมาณ 100 ล้านล้าน เหรียญสหรัฐทำให้ผู้บริโภคเกิดความวิตกกังวลในเรื่องของความปลอดภัยทางด้านอาหารส่งผลให้เกิดการ เรียกร้องให้อุตสาหกรรมมีการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุสมผลในเนื้อสุกรเพื่อบรรเทาปัญหาเชื้อดื้อยาซึ่ง เป็นแนวคิดที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยปี พ.ศ. 2560 - 2564 นำไปสู่วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้ 1) ประเมินมูลค่าความเต็มใจจ่ายของผู้บริโภค 2.) ศึกษา ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเต็มใจจ่าย 3.) เปรียบเทียบผลกระทบของข้อมูลข่าวสารที่มีต่อความเต็มใจ จ่าย นอกจากนี้การออกแบบสำรวจได้ถูกรวบรวมจากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 920 คน โดยใช้แบบจำลอง Tobit Model ผลการศึกษาพบว่า ความเต็มใจจ่ายสำหรับเนื้อสุกรมีมูลค่าเท่ากับ 95.56 บาทต่อกิโลกรัมโดยปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อความเต็มใจจ่าย ได้แก่ เพศ ระดับการศึกษา จำนวนสมาชิกในครัวเรือน ทัศนคติ ความรู้ ความสำคัญของตรารับรอง กรรับรู้ จำนวนเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี ผลกระทบของข้อมูลเชิงบวก ผลกระทบของข้อมูลเชิงลบและระดับความรุนแรงของเชื้อดื้อยาโดยที่ผลกระทบของข้อมูลข่าวสารมี ความสัมพันธ์กับความเต็มใจจ่ายอย่างมีนัยสำคัญโดยผู้บริโภคที่ได้รับข้อมูลในเชิงลบมาก ๆ จะยินดีจ่าย น้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับผู้บริโภคที่ได้รับข้อมูลในลักษณะอื่น ๆ เนื่องจากผลกระทบข้อมูลข่าวสารที่ ได้รับอาจจะเป็นภัยต่อสุขภาพของผู้บริโภคในอนาคต เช่น สภาวะทุพพลภาพหรือร้ายแรงถึงเสียชีวิต ส่งผลต่อความวิตกกังวลในด้านของการตัดสินใจเลือกซื้อเนื้อหมูทางเลือกใหม่ลดลง นอกจากนี้ ราคาที่ได้จากการศึกษาจะเป็นสื่อกลางทางด้านราคาระหว่างผู้บริโภคและผู้ผลิตสำหรับการยอมรับเนื้อหมูทางเลือก ใหม่ซึ่งนำไปสู่นโยบายในค้านของการจัดสรรตันทุนการผลิตที่เหมาะสมและการกำหนดนโยบายของ รัฐบาลในการคุ้มครองผู้บริโภคในการปรับปรุงมาตรฐานการผลิตเพื่อลดความวิตกกังวลของสารตกค้างที่ มีผลร้ายแรงและสร้างความมั่นใจในการเลือกซื้อสุกรที่มีความปลอดภัยมากขึ้นen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621631015 พงศภัค เเซ่เลี่ยว.pdf3.41 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.