Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78750
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล-
dc.contributor.authorวนิศรา หนูตอen_US
dc.date.accessioned2023-08-29T13:33:33Z-
dc.date.available2023-08-29T13:33:33Z-
dc.date.issued2566-06-29-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78750-
dc.description.abstractThe research aims to study the find answers about employment and job characteristics of the “Firefighters” group consisting of fireman Firefighters, Fireman Fire, Operation set of Fire-Hawk and fire extinguishing networks to study the participation of working processes in the forest fire extinguishing network. An overview of the problems and obstacles of the fire fighters in the forest fire extinguishing network. as well as the attitude or perspective of the firefighters towards insecure work in terms of legal status employment conditions occupational safety and protection welfare in managing forest fires in the northern region. The finding revealed that show Firefighters perceive that the job of extinguishing wildfires is inherently precarious and dangerous. But such awareness does not have much influence or role in managing forest fire and haze problems. Because most firefighters are affected by forest fires in their communities. Therefore, there is an ideal and commitment to forest fire management. However, the firefighters were all faced with a dilemma. to the problem of legal status and conditions of temporary employment as a service contract that the government hires the private sector to carry out the mission of extinguishing forest fires according to the constitutional law and the law on distribution to local government organizations with limitations from the status of contractors and service contracts. As a result, such groups of people are not protected by labor laws and social security laws and face various factors that resulted in unstable work that led to that dilemma to study and resolve conflicts between legal employment and social reality. There should be a local administrative organization and the relevant charities to find a common solution to urgently solve the problem.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการจ้างเหมาบริการen_US
dc.subjectสัญญาจ้างแรงงานอำพรางจ้างทำของen_US
dc.subjectพนักงานจ้างเหมาบริการen_US
dc.subjectการจัดการปัญหาไฟป่าและหมอกควันen_US
dc.subjectกฎหมายการจ้างงานen_US
dc.title“คนสู้ไฟ” เจ้าหน้าที่ดับไฟป่าในมุมมอง “งานไม่มั่นคง” ต่อการจัดการปัญหาไฟป่าและหมอกควันen_US
dc.title.alternative“Firefighter” - forest firefighter in the perspective of “precarious work” to the management of forest fire and haze pollutionen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการดับเพลิง-
thailis.controlvocab.thashไฟป่า-
thailis.controlvocab.thashเจ้าหน้าที่ดับไฟป่า-
thailis.controlvocab.thashหมอกควัน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์เล่มนี้เป็นงานศึกษาที่มุ่งแสวงหาคำตอบเกี่ยวกับการจ้างงานและลักษณะงานของกลุ่ม “คนสู้ไฟ” อันประกอบด้วย พนักงานดับเพลิง พนักงานดับไฟป่า ชุดปฏิบัติการเหยี่ยวไฟ และเครือข่ายดับไฟป่า เพื่อศึกษาถึงการมีส่วนร่วมของกระบวนการทำงานในเครือข่ายดับไฟป่า ภาพรวมปัญหาและอุปสรรคของกลุ่มคนสู้ไฟในเครือข่ายดับไฟป่า ตลอดจนทัศนคติหรือมุมมองของกลุ่มคนสู้ไฟที่มีต่องานไม่มั่นคง ในด้านมิติสถานะทางกฎหมาย สภาพการจ้างงาน ความปลอดภัย ในการทำงานและสวัสดิการคุ้มครองในการจัดการไฟป่าภาคเหนือ ผลจากการศึกษาวิจัยแสดงให้เห็นว่า กลุ่มคนสู้ไฟรับรู้ว่างานดับไฟป่าโดยสภาพแล้วเป็นงานไม่มั่นคงและเป็นงานที่เสี่ยงภัยอันตราย แต่การรับรู้ดังกล่าวไม่มีอิทธิพลหรือมีบทบาทต่อการจัดการปัญหาไฟป่าและหมอกควันมากนัก เนื่องจากกลุ่มคนสู้ไฟส่วนมากเป็นผู้ได้รับผลกระทบจากปัญหาไฟป่าในพื้นที่ชุมชนของตน จึงมีอุดมคติและความมุ่งมั่นต่อการจัดการไฟป่า แต่อย่างไรก็ตามกลุ่มคนสู้ไฟล้วนแต่ต้องเผชิญกับสภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออก ถึงปัญหาสถานะทางกฎหมายและสภาพการจ้างงานชั่วคราวแบบสัญญาจ้างเหมาบริการ ที่ภาครัฐจ้างให้เอกชนเข้ามาดำเนินการในภารกิจดับไฟป่าตามกฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายการกระจายสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด้วยข้อจำกัดจากสถานะผู้รับจ้างทำของและสัญญาจ้างเหมาบริการ จึงทำให้กลุ่มบุคคลดังกล่าวไม่ตกอยู่ภายใต้ความคุ้มครองตามกฎหมายแรงงานและกฎหมายประกันสังคม และเผชิญต่อปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลต่องานไม่มั่นคงอันนำมาสู่สภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกนั้น เพื่อศึกษาและแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างการจ้างงานตามบัญญัติทางกฎหมายกับสภาพความเป็นจริงในสังคม ควรจะต้ององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและส่วนราชการที่เกี่ยวข้องหาแนวทางร่วมกันแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วนen_US
Appears in Collections:LAW: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
612032006-นางสาววนิศรา หนูตอ.pdf3.82 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.