Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78733
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสาลินี สันติธีรากุล-
dc.contributor.authorพรทิพย์ ใจอินผลen_US
dc.date.accessioned2023-08-29T01:12:10Z-
dc.date.available2023-08-29T01:12:10Z-
dc.date.issued2023-04-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78733-
dc.description.abstractBiomass is a renewable source of energy that can be converted into heat energy through the production of biomass charcoal. This research aims to identify strategies for operating sustainable biomass charcoal production to ensure long-term sustainability. The sustainability perspective is categorized into three essential aspects: economic, environmental, and social considerations. The research focuses on modeling and measuring the sustainability performance of smokeless biomass charcoal production from various biomass charcoal producers. A comprehensive evaluation criteria model was developed based on a literature review and expert assessment to establish a sustainable performance measurement for producing smokeless biomass charcoal. The suitability of 20 indicators was analyzed, and their significance scores were determined through an expert survey. The results revealed that the economy received the highest score, followed by the social and environmental aspects. Furthermore, the research evaluated the sustainability performance among four types of biomass charcoal producers: coconut shell charcoal, longan wood charcoal, charcoal mixed with coconut shell and wood, and wood charcoal. The assessment indicated that longan wood charcoal achieved the highest total score. Overall, this research emphasizes the importance of sustainability in biomass charcoal production and provides a framework for measuring and modeling the sustainability performance of different producers ,by considering economic, environmental, and social aspects to ensure the long-term sustainability of smokeless biomass charcoal production. The findings serve as a valuable guide for manufacturers in making informed decisions regarding biomass material selection, aiming to balance economic profitability with social and environmental responsibility. In summary, this research contributes to the promotion of sustainable practices in the energy sector, particularly in biomass charcoal production.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความยั่งยืนen_US
dc.subjectการวัดสมรรถนะen_US
dc.subjectการตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์en_US
dc.subjectถ่านชีวมวลen_US
dc.subjectการพัฒนาแบบวัดสมรรถนะen_US
dc.titleการวัดสมรรถนะความยั่งยืนของการผลิตถ่านไร้ควันจากวัสดุชีวมวลหลายชนิดen_US
dc.title.alternativeSustainability performance measurement of smokeless charcoal production from various biomass materialen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashถ่านไร้ควัน-
thailis.controlvocab.thashถ่านหิน -- การเผาไหม้-
thailis.controlvocab.thashชีวมวล-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractถ่านชีวมวลเป็นพลังงานทดแทนในด้านพลังงานความร้อน การผลิตถ่านชีวมวลนั้นผลิตจากวัสดุชีวมวลที่หลือทิ้งจากการเกษตรที่มีความหลากหลายในด้านของวัตถุดิบ งานวิจัยนี้หาแนวทางการดำเนินงานผลิตถ่านชีวมวลอย่างยั่งยืนนั้น โดยใช้มุมมองความยั่งยืนออกเป็น 3 ประเด็น ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม จึงทำให้งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์สร้างรูปแบบและวัดสมรรถนะความยั่งยืนของการผลิตถ่านชีวมวลไร้ควันหลายรูปแบบจากผู้ผลิตถ่านชีวมวล โดยรูปแบบของเกณฑ์การประเมินมาจากการทบทวนวรรณกรรม และประเมินถึงความเหมาะสมของตัวชี้วัดเพื่อนำไปสู่การพัฒนาแบบวัดสมรรถนะความยั่งยืนของการผลิตถ่านชีวมวลไร้ควันหลายรูปแบบจากผู้ผลิต ขั้นตอนแรกเป็นการวิเคราะห์ความเหมาะสมของตัวชี้วัดและระดับคะแนนของตัวชี้วัดจากผู้เชี่ยวชาญ ทำให้ได้ตัวชี้วัดที่มีความเหมาะสมในแบบวัดสมรรถนะจำนวน 20 ตัวชี้วัดสำหรับกลุ่มผู้ผลิตถ่านชีวมวล ขั้นตอนถัดไปเป็นการหาค่าคะแนนความสำคัญของแต่ละตัวชี้วัด โดยผลจากการสอบถามผู้เชี่ยวชาญ พบว่า ด้านเศรษฐกิจได้คะแนนความสำคัญในการประเมินสมรรถนะในงานวิจัยนี้มากที่สุด รองลงมาคือด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม หลังจากได้คะแนนความสำคัญในแต่ละตัวชี้วัดเรียบร้อย ขั้นตอนถัดไปเป็นการใช้แบบวัดสมรรถนะในกลุ่มผู้ผลิตถ่านชีวมวลทั้ง 4 ประเภท ได้แก่ สถานประกอบการถ่านอัดแท่งกะลามะพร้าว สถานประกอบการถ่านอัดแท่งไม้ลำไย สถานประกอบการถ่านอัดแท่งไม้ผสมกะลา และ สถานประกอบการถ่านอัดแท่งไม้เบญจพรรณ ซึ่งผลจากการประเมินสมรรถนะความยั่งยืนของการผลิตสถานประกอบการถ่านอัดแท่งไม้ลำไยมีผลรวมคะแนนสูงสุด โดยงานวิจัยนี้ได้ทำการประเมินถึงความยั่งยืน ใน 3 ด้าน ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและด้านสิ่งแวดล้อม ทำให้ผู้ผลิตได้รูปแบบแนวทางในการตัดสินใจเลือกวัสดุชีวมวล เพื่อการผลิตถ่านชีวมวลที่ยั่งยืน โดยสร้างความสมดุลในด้านของการได้มาซึ่งกำไร และมีความรับผิดชอบต่อผลกระทบในด้านสิ่งแวดล้อม และสังคม เพื่อเป็นการส่งเสริมแนวทางในการปฏิบัติเพื่อการผลิตถ่านอย่างยั่งยืน ในการส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนในกลุ่มถ่านชีวมวลen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610631107-พรทิพย์ ใจอินผล.pdf4.14 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.