Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78728
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธเนศวร์ เจริญเมือง-
dc.contributor.authorธนิดา เจริญไชยen_US
dc.date.accessioned2023-08-28T13:36:01Z-
dc.date.available2023-08-28T13:36:01Z-
dc.date.issued2022-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78728-
dc.description.abstractLocal administration completely brings government closer to the people, for the sake of decentralization, where the people have full power to make decisions towards their local public affairs in accordance with the rule of law. On 22 May 2014, the coup d'etat was launched and the Constitution of The Kingdom of Thailand (Interim), B.E. 2557 was promulgated. This resulted in exercising power of the National Council for Peace and Order (NCPO) according to Article 44 of the aforementioned Interim Constitution which has absolute effect on the Department of Local Administration regarding the Order of the Head of the National Council for Peace and Order. No. 1/ 2557 on Temporary Acquisition of Local Council Members or Local Administrators. That was considered a freezing of local government administration due to disallowing of elections for new council members and executive administrators of local governments. Ban Hong Sub-District Municipality was 1 of the 2 local administrative organizations in Lamphun District that was affected by the Order of the Head of the National Council for Peace and Order. No. 19/2558. As a result, the Mayor of Ban Hong Sub-District Municipality was suspended from 25 June 2015 (B.E. 2558). During that time, a Municipal Clerk was serving and running the municipality on behalf of the absence Mayor. Therefore, it was the intention of this study to find out advantages and limitations, as well as, to examine the difference in working and administrating of the directly elected Mayor versus the unelected Municipal Clerk acting as a Mayor in Ban Hong Sub-District Municipality. This study aimed at reflecting the different contexts of municipal administration under the change of national politics. This is qualitative research which has been done by analyzing internal documents of Ban Hong Sub-District Municipality, academic documents, related research documents, and by doing in-depth interviews with the main-focused group of informants. The results were then analyzed and discussed in line with the concepts of local government, The Strong Mayor Form, and Authoritarianism. The study revealed the differences in municipal administration and the findings were as follows: Elected executive administrators tended to spent most of the money on infrastructure, focus on using the budget allocation to the fullest to take into account political interests, focus on results rather than methods when it comes to management, be proactive to reach out to local people, and be able to quickly make decisions against urgent problems in a timely manner. Whereas, Unelected municipal clerks acting as a mayor would rather spend most of the money on overall benefits by mainly considering the whole amount of budget, perform good internal management, emphasize appropriate practices according to the rules, response to people's demand under the municipal law framework and along with the local development plan. The Municipal Clerk, as a chief of the civil servants, had sufficient understanding of the organization's internal structures, thus he/ she must be able to manage things effectively despite his/ her temporarily position. Moreover, the work system tended to be more lawful and standardized which could help reduce risk of illegal actions. Nevertheless, strict adherence to rules resulted in delay performance in people's point of view. The political change in Thailand totally effected people's insecurity towards the administration of the government, the lack of continuity in local development, the lack of involvement of local representatives in solving local problems. Even though, local politicians pay their attentions to political interests, they are still trusted by local people because they are familiar and come from the same community. A Municipal Clerk acting Mayor still lacks clear policies that can solve problems to truly meet the needs of people. Therefore, being inactive would decrease people's alertness and participation in local politics.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการบริหารงานของเทศบาลตำบลบ้านโฮ่ง อำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูนในช่วงที่มีปลัดปฏิบัติหน้าที่แทนนายกเทศมนตรี พ.ศ.2558-2562en_US
dc.title.alternativeThe Administration of a Ban Hong Municipality, Ban Hong Sub-District, Lamphun Province during the chief administrator as an acting mayor B.E. 2558 – 2562en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashองค์การบริหารส่วนตำบล-
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่น -- การมีส่วนร่วมของประชาชน-
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่น -- บ้านโฮ่ง(ลำพูน)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นถือว่ามีความใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด โดยเจตนารมณ์ ของการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น เพื่อให้ประชาชนมีอำนาจการตัดสินใจเกี่ยวกับกิจการต่างๆ ที่เป็น สาธารณะของท้องถิ่นด้วยตนเอง โคยมีอำนาจหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด รัฐประหาร (Coup) เมื่อ วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวส่งผลให้มีการใช้อำนาจ คสช. ผ่านมาตรา 44 ถืออำนาจพิเศษตามรัฐธรรมนูญฉบับชั่คราว พ.ศ.2557 และเกี่ยวข้องกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นตั้งแต่ฉบับแรก คือ คำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 12รรา เรื่อง การได้มาซึ่งสมาชิกสภา ห้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นเป็นการชั่วคราวถือเป็นการแช่แข็งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่ให้ เลือกตั้งสมาชิกสภาและผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นชุดใหม่ เทศบาลตำบลบ้านโฮ่ง อำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน เป็นองค์กรปกครองท้องถิ่น 1 ใน 2 แห่ง ของจังหวัดลำพูนที่ได้รับผลกระทบจากคำสั่ง คสช. โดยคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 19/2558 นายกเทศมนตรีตำบลบ้านโฮ่ง ถูกระงับการปฏิบัติหน้ที่นับแต่วันที่ 25 มิถุนายน 2558 โดยมีปลัดเทศบาลตำบลปฏิบัติหน้าที่นายกเทศมนตรีในการบริหารงานเทศบาลในระหว่างที่ไม่มี ผู้บริหารที่มาจากการเลือกตั้ง จึงเป็นที่มาของการศึกษาการบริหารงานเทศบาลตำบลบ้านโฮ่ง ในช่วง ที่มีปลัดเทศบาลปฏิบัติหน้าที่แทนนายกเทศมนตรี ว่ามีการทำงานแตกต่างจากนายกเทศมนตรีที่มา จากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนหรือไม่ และมีข้อดีและข้อจำกัดอย่างไร ทั้งนี้ต้องการสะท้อน ให้เห็นถึงบริบทด้านต่างๆ ของการบริหารงานของเทศบาลภายใต้การเปลี่ยนแปลงของการเมือง ระดับประเทศ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยวิเคราะห์เอกสารภายในของเทศบาลตำบลบ้านโฮ่งเอกสารวิชาการ เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์เชิงลึก(In-depth Interview) จากกลุ่ม ผู้ให้ข้อมูลหลัก และนำข้อมูลมาวิเคราะห์และอภิปรายผลร่วมกับ แนวคิดเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่น แนวคิดนายกเทศมนตรีเข้มแข็ง (The Strong Mayor From) และแนวคิดระบอบอำนาจนิยม (Authoritarianism) ผลการศึกษาพบความแตกต่างของการบริหารงานเทศบาล ดังนี้ ผู้บริหารที่มา จากการเลือกตั้ง มีการใช้ง่ายเงินงบประมาณน้นโครงสร้างพื้นฐานเป็นหลัก มุ่งเน้นใช้เงินงบประมาณ ให้ได้มากที่สุดโดยคำนึงถึงผลประโยชน์ทางการเมือง บริหารงานเน้นผลลัพธ์มากกว่าวิธีการ มีลักษณะการทำงานเชิงรุกเข้าถึงประชาชนได้ดี การแก้ไขปัญหาความเดือนร้อนของประชาชนใน ภาวะเร่งด่วนสามารถตัดสินใจรวดเร็วและแก้ปัญหาได้อย่างทันท่วงที ส่วนปลัดปฏิบัติหน้าที่แทน นายกเทศมนตรี มุ่งเน้นการใช้จ่ายงินงบประมาณเน้นประโยชน์โดยรวม คำนึงถึงเม็ดเงินงบประมาณ เป็นหลัก บริหารงานภายในหน่วยงานได้ดี การทำงานเน้นวิธีปฏิบัติให้ถูกต้องตามระเบียบ ตอบสนอง ต่อความต้องการของประชาชนภายใต้กรอบเทศบัญญัติและเป็นไปตามแผน พัฒนาท้องถิ่น ปลัดเทศบาลในฐานะผู้บังกับบัญชาสูงสุดของข้าราชการฝ่ายประจำมีความเข้าใจโครงสร้างภายใน ขององค์กรภายใด้ดี การทำหน้าที่ ที่ผู้บริหารท้องถิ่นชั่วคราวย่อมบริหารงานภายในองค์กรได้ดีมี ประสิทธิภาพ ระบบการทำงานมีความถูกต้องเป็นไปตามมาตรฐานลดความเสี่ยงในการที่จะ ปฏิบัติงานผิดกฎหมาย แต่การยึดโยงกฎระเบียบทางราชการมากเกินไปส่งผลให้ประชาชนมองว่าการทำงานล่าช้าและการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในประเทศไทยครั้งนี้ ส่งผลต่อความไม่มั่นใจในการ บริหารงาน การพัฒนาท้องถิ่นขาดความต่อเนื่อง ไม่มีตัวแทนภาคประชาชนเข้าร่วมในการแก้ไข ปัญหาท้องถิ่น โดยคนของท้องถิ่น แม้นักการเมืองท้องถิ่นจะบริหารงาน โดยมุ่งผลประโยชน์ทางการ เมืองแต่ก็ยังได้รับความไว้วางใจเนื่องจากเป็นคนท้องถิ่นเดียวกัน ปลัดเทศบาลตำบลปฏิบัติหน้าที่ นายกเทศมนตรีในการบริหารงานยังขาดนโยบายการบริหารงานที่ชัดเจน การแก้ปัญหาของพี่น้อง ประชาชนจึงไม่ตอบโจทย์ต่อความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริงเมื่อปล่อยเวลาให้ยาวนานย่อม ส่งผลให้ประชาชนขาดความตื่นตัว ขาดการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611932034 ธนิดา เจริญไชย.pdf1.73 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.