Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78726
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเภาภัทรา คำพิกุล-
dc.contributor.authorอิทธิภาค บุณยเกียรติen_US
dc.date.accessioned2023-08-27T09:30:01Z-
dc.date.available2023-08-27T09:30:01Z-
dc.date.issued2021-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78726-
dc.description.abstractThis thesis presents a study of performance improvement of microstrip slot antenna, which was a resonance property of microstrip antenna. As a result, the antenna was limited in term of narrow bandwidth and low gain. Therefore, it was enhanced by adding a groove on the microstrip antenna or a slot antenna to expand the bandwidth to be wider supporting the modern wireless communication technology such as IoT (LTE), WLAN (IEEE Std 802.11), WiMax (IEEE Std 802.16), and GSM technologies such 1.80 GHz, 1.90 GHz, 2.10 GHz, and 2.60 GHz. In addition, increasing the gain and overall performance of the antenna had been improved slot antenna properties that were metamaterial, including metallic holes and wire medium structures. Moreover, both structures influenced electromagnetic waves, so it found that a suitable structure would control characteristics of the antenna. It can control the radiation pattern, decreasing the backlobe level and increasing the gain of antenna. Furthermore, this study also presents a comparison of the results with the Perfect Electric Conductor (PEC) by simulating with electromagnetic system software to find out the results of the single slot antenna and the slot antennas with added two types of metamaterials and PEC. In this simulation, a prototype antenna was built to test measurement, compare, and conclusion of the research results.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเพิ่มสมรรถภาพของสายอากาศแบบร่องด้วยวัสดุเมตาสำหรับการสื่อสารไร้สายสมัยใหม่en_US
dc.title.alternativePerformance improvement of slot antenna with metamaterial for modern wireless communicationen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashอภิวัสดุ-
thailis.controlvocab.thashวิศวกรรมไฟฟ้า-
thailis.controlvocab.thashระบบสื่อสารไร้สาย-
thailis.controlvocab.thashสายอากาศ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้นำเสนอการศึกษาการเพิ่มสมรรถภาพของสายอากาศแบบร่องไมโครสตริป (Microstrip slot antenna) เนื่องจากคุณสมบัติในการเร โซแนนซ์ตามธรรมชาติของสายอากาศ ไมโครสตริป ทำให้สายอากาศมีข้อจำกัดในเรื่องของความกว้างแถบที่แคบและอัตราขยายที่ต่ำ จึงได้มีการปรับปรุงด้วยวิธีการเพิ่มร่องให้แก่สายอากาศไมโครสตริปหรือเรียกว่าสายอากาศแบบร่อง (Slot antenna) เพื่อขยายความกว้างแถบให้กว้างมากขึ้นให้สามารถรองรับเทค โนโลยีสื่อสารไร้สาย สมัยใหม่ได้ เช่น อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งในย่านความถี่ LTE แลนไร้สาย (ตามมาตรฐาน IEEE 802.11) วายแมกซ์ (ตามมาตรฐาน EEE 802.16) และเทคโนโลยี GSM ที่ความถี่ 1.80 GHz 1.90 GHz 2.10 GHz และ 2.60 GH2 เป็นต้น และ ได้ปรับปรุงการเพิ่มอัตราขยายและประสิทธิภาพโดยรวม ของสายอากาศให้ดียิ่งขึ้น ด้วยการนำวัสดุเมตา (Metamaterial) 2 ชนิด มาใช้ร่วมกับสายอากาศ แบบร่องเพื่อนำมาเปรียบเทียบลักษณะสมบัติของสายอากาศ ได้แก่ โครงสร้างแบบรูโลหะ (Metallic holes structure) และ โครงสร้างตัวกลางเส้นลวด (Wire medium structure) โดยทั้งสอง โครงสร้างนี้มีผลต่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า พบว่าโครงสร้างที่เหมาะสมจะควบคุมลักษณะสมบัติของ สายอากาศได้ เช่น แบบรูปการแผ่พลังงาน ระดับหลัง และเพิ่มอัตราขยายของสายอากาศ เป็นต้น และได้นำเสนอการศึกษาเปรียบเทียบผล ร่วมกับโครงสร้างแผ่นตัวนำไฟฟ้าสมบูรณ์ (Perfect Electric Conductor: PEC) อีกด้วยโดยการจำลองผลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ เพื่อศึกษา ผลลัพธ์ของสายอากาศแบบร่องเดี่ยว และสายอากาศแบบร่องที่เพิ่มวัสดุเมตาทั้ง 2 ชนิด และโครงสร้างแผ่นตัวนำไฟฟ้าสมบูรณ์ จากนั้นได้สร้างสายอากาศด้นแบบเพื่อวัดทดสอบ เปรียบเทียบ และสรุปผลการวิจัยen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620631046 อิทธิภาค บุณยเกียรติ.pdf8.09 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.