Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78660
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยะลักษณ์ พุทธวงศ์-
dc.contributor.advisorสุพรรณิกา ลือชารัศมี-
dc.contributor.advisorกันต์สินี กันทะวงศ์วาร-
dc.contributor.authorศุภิสรา วันพนมen_US
dc.date.accessioned2023-08-19T08:33:54Z-
dc.date.available2023-08-19T08:33:54Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78660-
dc.description.abstractThis study examined risk attitudes and time preferences to determine the influence on male adolescents' decision to smoke in Chiang Mai province. The study was conducted with 313 individuals aged 15 to 24 years who had lived in Chiang Mai for at least one year and completed online questionnaires between August and December 2022. Risk attitudes and time preferences were assessed differently from the experiment, which asked the sample to decide based on hypothetical situations. The study found that male adolescents who had close contacts with smokers caused the subjects to smoke more. Risk attitude did not influence smoking choice or amount smoked. However, time preference did influence smoking behavior. Discount rate was positively correlated with smoking choice and amount smoked. That is, people who prefer higher current consumption tend to smoke more.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของทัศนคติเกี่ยวกับความเสี่ยงและความพอใจในการบริโภคต่างเวลาต่อการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEffects risk attitudes and time preferences on teenage smoking of in Chiang Mai provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการประเมินความเสี่ยง-
thailis.controlvocab.thashการสูบบุหรี่-
thailis.controlvocab.thashคนสูบบุหรี่-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้ประเมินทัศนคติเกี่ยวกับความเสี่ยง (Risk attitude) และความพอใจในการบริโภคต่างเวลา (Time preference) เพื่อศึกษาผลกระทบที่มีต่อการตัดสินใจสูบบุหรี่ของวัยรุ่นชายในจังหวัดเชียงใหม่ โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุระหว่าง 15 - 24 ปี และอาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่อย่างน้อย 1 ปีขึ้นไป จำนวน 313 คน โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ เก็บข้อมูลในช่วงเดือนสิงหาคมถึงธันวาคม พ.ศ. 2565 โดยประเมินทัศนคติเกี่ยวกับความเสี่ยงและความพอใจในการบริโภคต่างเวลาจากการทดลอง (Experiment) ที่ให้กลุ่มตัวอย่างตัดสินใจจากสถานการณ์สมมติ จากการศึกษาพบว่า วัยรุ่นชายที่มีบุคคลใกล้ชิดสูบบุหรี่ทำให้กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่มากขึ้น ทัศนคติเกี่ยวกับความเสี่ยงไม่ส่งผลต่อการเลือกสูบบุหรี่และปริมาณการสูบบุหรี่ แต่ความพอใจในการบริโภคต่างเวลาส่งผลต่อการสูบบุหรี่ โดยอัตราคิดลดมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการเลือกสูบบุหรี่และปริมาณการสูบบุหรี่ นั่นคือผู้ที่ให้ความสำคัญกับการบริโภคในปัจจุบันสูงกว่าจะมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่มากกว่าen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611631016-ศุภิสรา วันพนม.pdf4.05 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.