Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78627
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSaengrawee Sriwichai-
dc.contributor.authorTayanee Panapimonlawaten_US
dc.date.accessioned2023-08-08T11:02:02Z-
dc.date.available2023-08-08T11:02:02Z-
dc.date.issued2021-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78627-
dc.description.abstractThe purpose of this research is to fabricate the poly(3-aminobenzyl amine)/poly(sodium 4-styrenesulfonate) (PABA/PSS) multilayer thin film on fluorine doped tin oxide (FTO)-coated glass substrate through layer-by-layer (LBL) self-assembly method for dopamine (DA) detection. The prepared PABA/PSS thin film was characterized by attenuated total reflection-fourier transform infrared (ATR-FTIR) spectroscopy, scanning electron microscopy (SEM) and energy dispersive X-ray spectroscopy (EDS) to study morphologies and properties of thin films. The optimal number of bilayers was assessed based on the results of SEM and cyclic voltammetry (CV) prior to use as a DA biosensor. The electrochemical behaviors of the optimized thin film toward detection of DA in neutral solution were studied using CV and amperometry. It was found that the obtained thin film showed a good sensitivity of 6.92 nA.cm -2.uM-I and a linear range of 0.1-1.0 uM (R2 = 0.99) with low limit of detection of 0.0628 uM, long-term stability and good reproducibility. Moreover, the PABA/PSS thin film also presented excellent selectivity toward DA detection in the presence of ascorbic acid (AA), uric acid (UA) and glucose which are the common biomolecules in human blood and urine.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleFabrication of electrochemical biosensor based on layer‐by‐layer multilayers film of poly(3‐aminobenzylamine) for dopamine detectionen_US
dc.title.alternativeการประดิษฐ์ไบโอเซนเซอร์เคมีไฟฟ้าบนฐานฟิลม์หลายชั้นแบบชั้นต่อชั้นของ พอลิ(3‐อะมิโนเบนซิลเอมีน) สำหรับการตรวจวัดโดพามีนen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshElectrochemical analysis-
thailis.controlvocab.lcshBiosensors-
thailis.controlvocab.lcshDopamine-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือทำการประดิษฐ์ฟิล์มบางหลายชั้นของพอลิ(3-อะมิโนเบนซิล เอมีน)/พอลิ(โซเดียม 4-สไตรีนซัล โฟเนต บนกระจกเคลือบฟลูออรินเจือด้วยอินเดียมทินออกไซด์ ผ่านวิธีการประกอบตัวเองแบบชั้นต่อชั้นสำหรับการตรวจวัด โดพามีน และทำการศึกษาสัณฐานวิทยา และสมบัติของฟิล์มบางพอลิ(3-อะมิโนเบนซิลเอมีน)/พอลิ(โซเดียม 4-สไตรีนซัลโฟเนต)ที่ได้ด้วย เทคนิคแอทเทนนูเลทโททอสรีเฟลกแตนซ์ฟูเรียร์ทรานส์ฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรสโคปี กล้อง จุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด และเอกซ์เรย์สเปกโทรสโคปีแบบกระจายพลังงาน จากนั้นทำ การประเมินจำนวนชั้นที่เหมาะสมที่สุด โดยการวิเคราะห์ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่อง กราด และเทคนิคไซคลิกโวลแทมเมตรีก่อนนำไปใช้เป็นไบโอเซนเซอร์สำหรับการตรวจวัดโดพามีน ทำการศึกษาพฤติกรรมทางฟฟ้าเคมีของฟิล์มบางที่ได้สำหรับการตรวจวัดโดพามีนในสารละลาย บัฟเฟอร์ที่เป็นกลางโดยใช้เทกนิคไซคลิกโวลแทมเมตรีและแอมเพอโรเมตรี จากผลการศึกษาพบว่า แผ่นฟิล์มที่ได้แสดงความไวสูงสุดที่ 6.92 นาโนแอมแปร์ต่อไมโคร โมลาร์ต่อตารางเซนติเมตร และมี ช่วงความเป็นเส้นตรงที่ความเข้มข้น 0.1 -1.0 ไมโครโมลาร์ด้วยค่า R2 = 0.99 ด้วยขีดการตรวจจับต่ำ ถึง 0.0628 ไมโครโมลาร์ อีกทั้งยังมีความเสถียรในระยะยาวและมีความสามารถในการทำซ้ำที่ดี มาก ไปกว่านั้นฟิล์มบางพอลิ(3-อะมิโนเบนซิลเอมีน)/พอลิ(โซเดียม 4-สไตรีนซัลโฟเนต)ยังแสดง ความจำเพาะที่ดีเยี่ยมต่อการตรวจจับ โดพามีนเมื่อมีกรดแอสคอร์บิก กรดยูริก และกลูโคส ซึ่งเป็นสาร ชีวโมเลกุลทั่วไปในเลือดและปัสสาวะของคนen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620531036 ธญานี ปาณพิมลวัฒน์.pdf7.25 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.