Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78616
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนม กุณาวงค์-
dc.contributor.authorธนะชัย เชื้อต่ายen_US
dc.date.accessioned2023-08-07T00:34:36Z-
dc.date.available2023-08-07T00:34:36Z-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78616-
dc.description.abstractThe objectives of this research are 1) to study the shifting cultivation management process of the community 2) to study the participation of government offices with the community in shift cultivating management and 3) to examine the aspects of proper shift cultivating management between the government and the community. This study is a qualitative research. The methodology focuses on the conversation with a group of villagers belonging to the community and thorough interviews with the local government officer. The data collected adding to theoretical documents are used for contents analysis. The result shows that the shifting cultivation is an agricultural system of Karen at Bai Naa village, Nakian sub-district implement to guarantee a year-round production. This system is a longstanding heritage wisdom transmitted from generation to generation. The community shifting cultivation is a rotated land system. They usually return to the same plot every seven years. Basically, the shifting cultivators start the growing season at the same time, and each family field remains close with one another allowing an easier and more comfortable management of the burning area in harvest season. The community has rules about the management of the rotation land and prohibit the expansion of agricultural land into the conservative forest. Nowadays, government offices such as the Na Kian Sub district Administrative Organization, Om Koi Fire Forest Office, Om Koi Forestry Department, and Om Koi District Local Government Office have processes management of burning areas with the community every year. The processes include planning on the duration of burning and creating a firebreak with the community participator to prevent the outbreak of fire into the forest prior to burning their land and preparing the fields for the planting season. The community is still looking forward to participating with other private agencies and civil societies to integrate knowledge, technologies and funds for the accomplishment of a proper Shifting Cultivation Farming design.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการไร่หมุนเวียนของชุมชนตามภูมิปัญญาของชาติพันธุ์กะเหรี่ยงเพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ตำบลนาเกียน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeCommunity approach in managing shifting cultivation according to Karen Tribe wisdom for sustainable natural resource management, Nakian Subdistrict, Omkoi District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashเกษตรกรรม -- อมก๋อย (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashกะเหรี่ยง -- อมก๋อย (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ -- อมก๋อย (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashภูมิปัญญาชาวบ้าน -- อมก๋อย (เชียงใหม่)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากระบวนการบริหารจัดการไร่หมุนเวียนของชุมชน 2) ศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐกับชุมชนในการจัดการไร่หมุนเวียน 3) ศึกษาถึงแนวทางที่เหมาะสมในการจัดการไร่หมุนเวียนร่วมกันของหน่วยงานภาครัฐกับชุมชนในการจัดการไร่หมุนเวียน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวิธีการศึกษาโดยใช้การสนทนากลุ่มร่วมกับชาวบ้านในชุมชนและสัมภาษณ์แบบเชิงลึกกับเจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐในพื้นที่ โดยการนำข้อมูลสัมภาษณ์มาประกอบกับข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้องและทำการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่าการทำไร่หมุนเวียนของคนกะเหรี่ยง บ้านใบหนา ตำบลนาเกียน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ เป็นกระบวนการสั่งสมอาหารเพื่อบริโภคตลอดทั้งปี ระบบเกษตรกรรมแบบไร่หมุนเวียนเกิดจากการส่งต่อภูมิปัญญาจากบรรพบุรุษสู่คนรุ่นปัจจุบัน คนที่นี่จัดการพื้นที่ในการทำไร่ผ่านพิธีกรรมและบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติผ่านวิถีชีวิตแบบไร่หมุนเวียน ซึ่งการทำไร่หมุนเวียนของชุมชนเป็นการใช้พื้นที่ในระยะเวลาช่วงสั้นๆ และมีการปล่อยพื้นที่ให้ฟื้นตัวเป็นระยะเวลานาน แต่ละแปลงจะใช้ระยะเวลาฟื้นตัวราว 7 ปี ก่อนที่จะหมุนกลับมาทำใหม่อีกครั้งเมื่อพื้นที่เกิดความอุดมสมบูรณ์ ปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตำบลนาเกียน ไฟป่าอมก๋อย ป่าไม้อมก๋อย ปกครองท้องที่อำเภออมก๋อย ได้มีการจัดกระบวนการดูแลพื้นที่เผาในขั้นการเตรียมพื้นที่ปลูกของการทำไร่หมุนเวียนร่วมกับชุมชนในทุกๆ ปีก่อนการเริ่มเผา เพื่อเตรียมพื้นที่ในการทำไร่เพื่อป้องกันการลุกลามของไฟเข้าไปในพื้นที่ป่า ร่วมกันออกแบบช่วงเวลาเผาเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐ ในอนาคตชุมชนยังมองการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนและภาคประชาสังคมในการอาศัยเทคโนโลยี องค์ความรู้และทุนในการออกแบบกระบวนการจัดการไร่หมุนเวียนอย่างเหมาะสมen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621932053 ธนะชัย เชื้อต่าย.pdf10.46 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.