Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78608
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorParud Boonsriton-
dc.contributor.advisorCharin Mangkhang-
dc.contributor.advisorJarunee Dibyamandala-
dc.contributor.authorKasamas Muangkaewen_US
dc.date.accessioned2023-08-04T00:38:41Z-
dc.date.available2023-08-04T00:38:41Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78608-
dc.description.abstractThis research is a descriptive research. The objectives of the research were 1) to synthesize elements and indicators of Buddhism-based learning to enhance the compassionate mind of higher education students; 2) to develop a model of Buddhism-based learning to enhance the compassionate mind of higher education students; and 3) to study the implementation results of a model of Buddhism-based learning to enhance the compassionate mind of higher education students. Key informants were selected by purposive sampling. The instruments used were: 1) a semi-structured interview form, data were analyzed through content analysis and summarized into issues, 2) a model verifying form, the data were analyzed using frequency and percentage, 3) a satisfaction form and model evaluation form, the data were analyzed by mean (X ̅) and standard deviation (S.D.). The research results showed that 1. The results of synthesizing elements and indicators of the compassionate mind of higher education students consisted of five preliminary elements and thirty-eight indicators and the author selected five important elements and twenty-one indicators, and results of examining and confirming the correction, suitability, and explanation of the elements and indicators by nine specialists consisted of 1) human problems, 2) human disposition, 3) human potential, 4) human minds, and 5) human compassion. 2. The results of drafting a model of Buddhism-based learning to enhance the compassionate mind of higher education students consisted of four elements as follows: 1) principles (P), 2) objectives (O), 3) operational procedures (O), and 4) determinants for achievement (D). And the verifying results of the accuracy and suitability were overall at the highest level83.37 and 82.22. 3. The satisfaction results of counseling activities for emphasizing students who are in the project of Financial Aid Service and scholarship to enhance student quality were overall at the highest level, average (Mean = 4.68). The evaluation results of the possibility and utilities of the model of Buddhism-based learning to enhance the compassionate mind of higher education students were also overall at the highest level, (Mean = 4.62) and (Mean = 4.63). It was found that the evaluation results of implementing Buddhism-based learning to enhance the compassionate mind of higher education students as a target group were overall at very good level in each aspect (Mean = 4.66) A complete model of Buddhism-based learning to enhance the compassionate mind of higher education students was POO(LLOTUSS)D. Keywords: Model of Buddhism-based Learning, Compassionate Mind, Higher Education Students.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleModel of Buddhism-based learning to enhance the compassionate mind of higher education studentsen_US
dc.title.alternativeรูปแบบการเรียนรู้แนวพุทธศาสตร์เพื่อเสริมสร้างจิตกรุณาของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshBuddhism -- Study and teaching-
thailis.controlvocab.lcshBuddhist education-
thailis.controlvocab.lcshCompassion -- Religious aspects -- Buddhism-
thailis.controlvocab.lcshHigh school students-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดจิตกรุณาของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา 2) พัฒนารูปแบบการเรียนรู้แนวพุทธศาสตร์เพื่อเสริมสร้างจิตกรุณาของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา 3) ศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนรู้แนวพุทธศาสตร์เพื่อเสริมสร้างจิตกรุณาของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักเลือกโดยเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา และสรุปประเด็น 2) แบบตรวจสอบรูปแบบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ 3) แบบประเมินความ พึงพอใจและแบบประเมินรูปแบบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าเฉลี่ย (X ̅) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการสังเคราะห์องค์ประกอบและตัวบ่งชี้จิตกรุณาของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา มีองค์ประกอบเบื้องต้น 5 องค์ประกอบและ 38 ตัวบ่งชี้ ผู้วิจัยเลือกเฉพาะ องค์ประกอบที่สำคัญ 5 องค์ประกอบ 21 ตัวบ่งชี้ และผลการตรวจสอบและยืนยัน การแก้ไขความเหมาะสม และอธิบายองค์ประกอบและตัวชี้วัดโดยผู้เชี่ยวชาญ 9 ท่าน ประกอบด้วย 1) ปัญหาของมนุษย์ 2) อุปนิสัยของมนุษย์ 3) ศักยภาพของมนุษย์ 4) จิตใจมนุษย์ และ 5) ความกรุณาของมนุษย์ 2. ผลการจัดทำร่างรูปแบบการเรียนรู้ทางพระพุทธศาสนาเพื่อเสริมสร้างจิตกรุณาของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการ (P) 2) วัตถุประสงค์ (O) 3) ขั้นตอนการดำเนินงาน (O) และ 4) ปัจจัยกำหนดความสำเร็จ (D) และผลการตรวจสอบความถูกต้องและความเหมาะสมโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 83.37 และ ร้อย 82.22 ตามลำดับ 3. ผลการประเมินความพึงพอใจของกิจกรรมให้คำปรึกษา ที่มุ่งเน้นนักศึกษาในโครงการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) และทุนส่งเสริมคุณภาพนักศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.68 ผลการประเมินความเป็นไปได้และประโยชน์ของรูปแบบการเรียนรู้ทางพระพุทธศาสนาเพื่อเสริมสร้างจิตกรุณาของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.62 และ4.63 ตามลำดับ คุณลักษณะจิตกรุณาของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ค่าเฉลี่ย 4.66 รูปแบบการเรียนรู้แนวพุทธศาสตร์เพื่อเสริมสร้างจิตกรุณาของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาที่สมบูรณ์แบบ คือ POO(LLOTUSS)D. คำสำคัญ : รูปแบบการเรียนรู้แนวพุทธศาสตร์ จิตกรุณา นักศึกษาระดับอุดมศึกษาen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600251001 Kasamas Muangkaew.pdf9.22 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.