Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78603
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNapat Harnpornchai-
dc.contributor.advisorSupanika Leurcharusmee-
dc.contributor.authorPornnutcha Bunarunraksaen_US
dc.date.accessioned2023-07-30T14:55:58Z-
dc.date.available2023-07-30T14:55:58Z-
dc.date.issued2021-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78603-
dc.description.abstractThe competition between artisanal and commercial fishery poses serious international economic problems. An important problem is the determination of sustainable fishing amounts for each group, i.e. artisanal and commercial. In this study, the determination of appropriable fishing amount is achieved using the framework of game theory. More specifically, the solution is determined based on Nash equilibrium. The Gordon-Schaefer harvest production function, which characterizes sustainable fishery levels, is considered. The secondary data from Thailand's Department of Fisheries, is used in the empirical study. For the estimation of the sustainable outcomes, for the artisanal fishery, the optimal effort ranges from 2,487,228 to 65,925,713 fishing days per year per all artisanal boats in 2017 and ranges from 2,794,208 to 74,229,479 fishing days per year per all artisanal boats in 2018. For the commercial fishery, the optimal effort ranges from 31,517 to 787,931 fishing days per year per all commercial boats in 2017 and ranges from 36,261 to 906,533 fishing days per year per all commercial boats in 2018. As the fishing effort in competitive outcome (MSY) was 171,378 days in 2017 and 172,880 days in 2018, this indicates that both of artisanal and commercial fisheries in Thailand did not exceed the limit.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleCompetitive versus sustainable outcomes of anchovies in gulf of Thailand for Thailand's fishery industryen_US
dc.title.alternativeผลลัพธ์เชิงแข่งขันเปรียบเทียบกับผลลัพธ์เชิงยั่งยืนของปลากระตักในอ่าวไทยสำหรับอุตสาหกรรมประมงของประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshFisheries -- Economic aspects-
thailis.controlvocab.thashThailand, Gulf of-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการแข่งขันระหว่างประมงพื้นบ้านและประมงพาณิชย์เป็นสาเหตุของปัญหาเศรษฐกิจที่ ร้ายแรงระดับนานาชาติ หนึ่งในปัญหาที่สำคัญคือการกำหนดปริมาณการทำประมงของแต่ละฝ่าย ซึ่ง ได้แก่ประมงพื้นบ้านและประมงพาณิชย์ ในการศึกษานี้เป็นการกำหนดปริมาณการทำประมงที่ เหมาะสมโดยใช้กรอบแนวคิดทฤษฎีเกม และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวิธีการแก้ปัญหาที่ยึด Nash Equilibrium แบบจำลองการเก็บเกี่ยวผลผลิตของ Gordon-Schaefer ที่แสดงถึงระดับของการทำ ประมงที่ยั่งยืนก็ถูกนำมาพิจารณาด้วย ลำดับถัดมาคือข้อมูลทุติยภูมิของกรมประมงแห่งประเทศไทยก็ ถูกนำมาใช้ในการศึกษาเชิงประจักษ์ สำหรับผลลัพธ์เชิงยั่งยืนของประมงพื้นบ้านในปี 2560 มีปริมาณ การลงแรงทำการประมงที่เหมาะสมอยู่ในช่วงระหว่าง 2,487,228 ถึง 65,925,7 13 วันทำการประมงต่อ ปีต่อจำนวนเรือประมงพื้นบ้านทั้งหมดและในปี 2561 อยู่ในช่วงระหว่าง 2,794,208 ถึง 74,229,479 วันทำการประมงต่อปีต่อจำนวนเรือประมงพื้นบ้านทั้งหมด ในขณะที่ปริมาณการลงแรงทำการประมง ที่เหมาะสมของประมงพาณิชย์ในปี 2560 อยู่ในช่วงระหว่าง 31,517 ถึง 787,931 วันทำการประมงต่อ ปีต่อจำนวนเรือประมงพาณิชย์ทั้งหมด และในปี 2561 อยู่ในช่วงระหว่าง 36,261 ถึง 906,533 วันทำ การประมงต่อปีต่อจำนวนเรือประมงพาณิชย์ทั้งหมด ในขณะที่ปริมาณลงแรงทำการประมงที่ระดับMSY (ผลลัพธ์เชิงแข่งขัน) ในปี 2560 คือ 1 71,378 วัน ซึ่งหมายความว่า ทั้งประมงพื้นบ้านและประมง พาณิชย์ไม่ได้ทำการประมงเกินขนาด เช่นเดียวกับปี 2561 ที่ปริมาณการลงแรงทำการประมงที่ระดับ MSY ไม่ได้ทำประมงเกินขนาดทั้งประมงพื้นบ้านและประมงพาณิชย์ โดยที่ผลลัพธ์เชิงแข่งขัน คือ 172,880 วันen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611635939 พรนัชชา บุญอรุณรักษา.pdf1.55 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.