Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78598
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยะลักษณ์ พุทธวงศ์-
dc.contributor.advisorวรลักษณ์ หิมะกลัส-
dc.contributor.advisorกันต์สินี กันทะวงศ์วาร-
dc.contributor.authorกิตติ์ธัญญา เครือโลมาen_US
dc.date.accessioned2023-07-26T13:30:14Z-
dc.date.available2023-07-26T13:30:14Z-
dc.date.issued2021-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78598-
dc.description.abstractThe problem of air pollution from PM2.5 dust has huge health implications. People need to protect themselves by wearing masks to avoid PM2.5 dust, using air purifiers, or spending more time at home The objectives of this study were to (1) evaluate air quality perception (AQP), (2) examine the influence of air quality perception (AQP) on self-defense behavior, and (3) evaluate the averting costs. and (4) comparing the magnitude of the influence of perceived air quality (AQP) and PM2.5 exposure on averting costs. The method for estimating averting costs is based on the actual cost of purchasing protective equipment from smog problems. The assessment of perceived air quality (AQP) uses a series of questionnaires and assessment methods based on the study by Deguen et al. (2012) by collecting data from a survey of 600 people living in Chiang Mai. The results showed that the sample group had a low perception of air quality during the haze problem (January - April 2021). The mean and median values of perceived quality were 0.399 and 0.387, respectively, but the variable of perceived air quality had the greatest influence on avoidance behavior. In assessing the averting cost, it was found that the samples that used PM2.5 dust masks had an average cost of 322.89 baht person/year, the average cost of using an air purifier was 526.50 baht/person/year, and the averting cost of spending more time at home by an average of 597.94 baht/person/year. Based on the population of Chiang Mai aged 25-50, it was found that the total averting cost in 2021 was 230 million baht per year. Individual factors that positively affected the averting cost were a bachelor's degree or higher, income, and knowledge of smog problems. The two PM2.5 exposure variables, average residential PM2.5 particulate matter and number of days PM2.5 particulate matter exceeds the standard, were found to have no effect on averting costs, while perceived air quality (AQP) had a significant effect on costs.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินมูลค่าต้นทุนการหลีกเลี่ยงมลพิษทางอากาศจากปัญหาหมอกควันในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeThe Valuation of averting cost from haze-related air pollution in Chiang Maien_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashหมอกควัน -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashมลพิษทางอากาศ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashเศรษฐศาสตร์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractปัญหามลพิษทางอากาศจากฝุ่น PM2.5 ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอย่างมาก ทำให้ประชาชน จำเป็นต้องป้องกันตนเองด้วยการสวมหน้ากากป้องกันฝุ่น PM2.5 การใช้เครื่องฟอกอากาศ หรือการ ใช้เวลาอยู่บ้านเพิ่มขึ้น การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อประเมินการรับรู้คุณภาพอากาศ (Air Quality Perception: AQP) (2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของการรับรู้คุณภาพอากาศ (AQP) ต่อพฤติกรรมการ ป้องกันตนเอง (3) เพื่อประเมินต้นทุนการหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Averting Cost) จากปัญหาหมอกควัน ของประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่ และ (4) เพื่อการเปรียบเทียบขนาดอิทธิพลของการรับรู้คุณภาพ อากาศ (AQP) และระดับมลพิษของฝุ่น PM2.: ที่มีต่อต้นทุนการหลีกเลี่ยงความเสี่ยง โดยวิธีการ ประเมินตันทุนการหลีกเสี่ยงจะประเมินจากคำใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงในซื้ออุปกรณ์ป้องกันจากปัญหา หมอกควัน อีกทั้ง การประเมินการรับรู้คุณภาพอากาศ (AQP) จะใช้ชุดคำถามและวิธีการประเมินโดย อ้างอิงการศึกษาของ Deguen et a1. (20 12) โดยรวบรวมข้อมูลจากการสำรวจกลุ่มตัวอย่างที่อาศัยอยู่ใน จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 600 ราย ผลการศึกษาพบว่า ในช่วงที่เกิดปัญหาหมอกควัน (เดือนมกราคม - เมษายน ปี 2564) กลุ่ม ตัวอย่างมีการรับรู้คุณภาพอากาสอยู่ในระดับต่ำ โดยมีค่าคะแนนการรับรู้คุณภาพเกลี่ยและ ค่ามัธยฐาน เท่ากับ 0.399 และ 0.387 ตามลำดับ แต่ตัวแปรการรับรู้คุณภาพอากาสกลับมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการ ป้องกันมากที่สุด สำหรับการประเมินต้นทุนการหลีกเลี่ยงความเสี่ยงด้านสุขภาพ พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ ใช้หน้ากากป้องกันฝุ่น PM2. มีต้นทุนเฉลี่ยเท่ากับ 322.89 บาท/คน/ปี มีต้นทุนการใช้เครื่องฟอกอากาศเฉลี่ยเท่ากับ 526.50 บาท/คน ปี และมีต้นทุนการใช้เวลาอยู่บ้านเพิ่มขึ้นเฉลี่ยเท่ากับ 597.94 บาท/คนปี หากประมาณจากจำนวนประชากรในเชียงใหม่ที่มีอายุ 25-50 ปี จะพบว่า ปี 2564 มีต้นทุน การหลีกเลี่ยงความเสี่ยงรวมเท่ากับ 230 ล้านบาทต่อปี ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีอิทธิพลเชิงบวกต่อต้นทุนการหลีกเสี่ยงความเสี่ยง ได้แก่ ผู้ที่มีการศึกษา ตั้งแต่ระดับปริญญาตรีขึ้นไป รายได้ และความรู้เกี่ยวกับปัญหาหมอกควัน ในส่วนของตัวแปรมลพิษ ฝุ่น PM2.5 ที่เกิดขึ้นจริง พบว่า ค่าเฉลี่ยของฝุ่น PM2.5 ของพื้นที่ที่อยู่อาศัย และจำนวนวันที่ฝุ่น PM2.5 เกินคำมาตรฐานในช่วงที่มีปัญหาหมอกควัน ไม่มีผลต่อต้นทุนการหลีกเลี่ยง ในขณะที่ การรับรู้ คุณภาพอากาศ (AQP) ส่งผลเชิงบวกต่อต้นทุนการหลีกเลี่ยงอย่างมีนัยสำคัญen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611631008 กิตติ์ธัญญา เครือโลมา.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.