Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78543
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมานพ แก้วโมราเจริญ-
dc.contributor.authorทิพยภาวรรณ ตันอ้วนen_US
dc.date.accessioned2023-07-22T07:53:33Z-
dc.date.available2023-07-22T07:53:33Z-
dc.date.issued2023-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78543-
dc.description.abstractDigital Twin and Building Information Modeling are the terms often used in the construction industry. The goal is to achieve real-world integration through a virtual platform, facility management, and environmental monitoring. To achieve these, the research has developed a dynamic Digital Twin at the building level from the Building Information Modeling with cloud computing, and the transmission of data through a wireless network as well as real-time analysis of the results. For the management of physical resources, the first step was to conduct a group discussion with stakeholders on the need for building resource management, and then develop a Digital Twin platform from the information model, study the standards for improving the health and well-being of building occupants (WELL Building Standard), select the standards to use with buildings, develop a framework for applying Building Information Modeling with the data on standards for improving the well-being of building occupants and Digital Twins, present the digital twins and the analysis of results, and draw conclusions. The results of this research demonstrate the potential of information modeling when used to improve the various resolutions of the model, cutting out some structures to be suitable for use in digital twins, using digital twins to manage building resources across different types of sensors, rendering on Autodesk Forge, and the improvement of user-friendly environment. These advantages of information modeling help stakeholders, engineers, facility managers, building resources managers, and building owners to efficiently manage building resources and able to analyze and understand the impact of building design and facility operations on human health and comfort.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาแฝดดิจิทัลในระดับอาคารจากแบบจำลองสารสนเทศอาคารสำหรับการบริหารทรัพยากรกายภาพen_US
dc.title.alternativeDeveloping a dynamic digital twin at a building level from building information modeling for physical resource managementen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashแฝดดิจิทัล-
thailis.controlvocab.thashแบบจำลองสารสนเทศอาคาร-
thailis.controlvocab.thashอาคาร -- คอมพิวเตอร์ช่วยการออกแบบ-
thailis.controlvocab.thashการบริหารทรัพยากรกายภาพ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractแฝดดิจิทัล และแบบจำลองสารสนเทศอาคาร เป็นคำที่ใช้บ่อยในอุตสาหกรรมการก่อสร้างในปัจจุบัน มีเป้าหมายเพื่อให้เกิดการบูรณาการในโลกแห่งความเป็นจริงด้วยแพลตฟอร์มเสมือนจริง การจัดการสิ่งอำนวยความสะดวก การตรวจสอบสภาพแวดล้อม โดยได้มีการพัฒนาระบบแฝดดิจิทัลแบบไดนามิกในระดับอาคารที่มีการประมวลผลบนคลาวด์ การส่งผ่านข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายไร้สาย รวมไปถึงการวิเคราะห์ผลแบบเรียลไทม์ เพื่อพัฒนาแฝดดิจิทัลในระดับอาคารจากแบบจำลองสารสนเทศอาคาร สำหรับการบริหารจัดการทรัพยากรกายภาพนั้น เริ่มต้นจากการสนทนากลุ่มกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อทราบถึงความต้องการในการบริหารจัดการทรัพยากรอาคาร จากนั้นพัฒนาแฟลตฟอร์มแฝดดิจิทัลจากแบบจำลองสารสนเทศ ศึกษามาตรฐานการยกระดับสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของผู้ใช้งานอาคาร (WELL Building Standard) คัดเลือกมาตรฐานสำหรับใช้งานกับอาคาร และพัฒนากรอบการประยุกต์ใช้แบบจำลองสารสนเทศ กับข้อมูลมาตรฐานการยกระดับสุขภาวะความเป็นอยู่ที่ดีของผู้ใช้งานอาคารและแฝดดิจิทัล นำเสนอฝาแฝดดิจิทัลพร้อมวิเคราะห์ผลและสรุปผล ผลลัพธ์สำหรับงานวิจัยนี้คือ แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของแบบจำลองสารสนเทศ เมื่อนำมาปรับปรุงความละเอียดต่างๆ ของโมเดล การตัดโครงสร้างบางส่วนออกเพื่อให้เหมาะสมกับการนำไปใช้งานในแฝดดิจิทัล การใช้ฝาแฝดดิจิทัลในการจัดการทรัพยากรอาคารทั้งเซ็นเซอร์ชนิดต่างๆ และการแสดงผลบนAutodesk Forge การปรับปรุงสภาวะแวดล้อมที่เป็นมิตรกับผู้ใช้งาน ช่วยให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งวิศวกร ผู้จัดการสิ่งอำนวยความสะดวก ผู้จัดการทรัพยากรอาคาร และผู้ครอบครอง สามารถจัดการทรัพยากรอาคารและสามารถวิเคราะห์และทำความเข้าใจผลกระทบของการออกแบบอาคารและการดำเนินงานสิ่งอำนวยความสะดวกต่อสุขภาพและความสะดวกสบายของมนุษย์ได้ดียิ่งขึ้นen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640631040 - ทิพยภาวรรณ ตันอ้วน.pdf9.12 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.