Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78540
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSomporn Chantara-
dc.contributor.advisorWan Wiriya-
dc.contributor.authorWittawat Insianen_US
dc.date.accessioned2023-07-22T07:20:03Z-
dc.date.available2023-07-22T07:20:03Z-
dc.date.issued2021-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78540-
dc.description.abstractAir pollution is one of the major environmental problems in Southeast Asia including Upper Northern Thailand. Sizes of ambient Particulate Matters (PM) are important due to their deposit capability on respiratory system. This study aims to investigate size distribution of atmospheric PM and their polycyclic aromatic hydrocarbons (PAHs) content in urban and rural areas of Chiang Mai Province in relation to traffic and biomass burning sources and to assess human respiratory health risk. Sampling of size fractionated PM (SPM) was conducted in 2019 at urban and rural sites during smoke haze (SH) period (March-April) every 2 days and non-smoke haze (NSH) period (May-June and November) once a month. The SPM samples were continuously collected for 48 hours using eight-stage cascade impactors with a flow rate of 28.3 L/min. SPMs were separated into seven fractions based on aerodynamic particle diameters ranging from 9.0-5.8 um, 5.8-4.7 um, 4.7-3.3 um, 3.3-2.1 um, 2.1 -1.1 um, 1.1-0.65 um, and 0.65-0.43 um. Samples were analyzed for 16-PAHs by GC-MS. The average SPMs (9.0-0.43 um) mass concentrations during SH period were 105.05+29.78 ug/m (urban) and 128.42-39.17 ug/m (rural). Concentration of total PAHs (tPAHs) in SPMs during SH period was obviously higher than the NSH period due to intensive burning. During SH period, average concentration of PAHs in rural area (6.55+2.88 ng/m') was about 1.5 times higher than that of urban area (4.27-1.95 ng/m?), while during NSH period the value of rural area (0.58+0.15 ng/m) was slightly lower than urban area (0.73+0.20 ng/m)) due to suppress of open burning activity and more impact of traffic emission in urban area. PM and PAHs concentrations were highest in the finest particle sizes (0.65-0.43 um) in both periods for both areas. The dominant component of PAHs found during SH period was BbF (23-24% of tPAHs), indicating that open burning was an important source. During NSH period, high ratio of IND, BPER, and DbA were found suggesting traffic emission as a main source in this period. Size distribution patterns of PM and tPAHs were bimodal with a major peak at 0.65-0.43 um and a minor peak at 5.8-4.7 um. High molecular weight PAHs showed a unimodal distribution with the dominant peak found in the finest particle size range. PAHs found in each particle size, were calculated for toxicity equivalent concentrations (TEQ) and inhalation cancer risk (ICR). It was clear that both TEQ and ICR values of PM-bound PAHs in both areas during SH season were high. Moreover, the highest values were corresponded with fine particles (< 2.1 um). It can be concluded that high concentration of fine particles found in ambient air leads to high respiratory health risk.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleSize distribution of particulate matters (PM) and health risk assessment of PM-bound Polycyclic Aromatic Hydrocarbons in Chiang Mai ambient airen_US
dc.title.alternativeการกระจายขนาดของอนุภาคฝุ่นและการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพของสารพอลิไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนที่เกาะกับอนุภาคฝุ่นในอากาศของเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshDust -- Chiang Mai-
thailis.controlvocab.lcshAir -- Pollution -- Chiang Mai-
thailis.controlvocab.lcshPolycyclic aromatic hydrocarbons-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractปัญหามลพิษอากาศจัดเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเถียงใต้รวมถึง ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ขนาคของอนุภาคฝุ่นมีความสำคัญเนื่องจากความสามารถในการดก สะสมในระบบทางเดินหายใจ การศึกยาครั้งนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อประเมินการกระจายขนาคของอนุภาค ฝุ่นในบรรยากาศและสารพอลิไซดลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (พืเอเอช) ในฝุ่นของพื้นที่เมืองและ พื้นที่นอกเมืองของจังหวัดเชียงใหม่ที่มีความสัมพันธ์กับแหล่งกำนิดจากการจราจรและการเผาชีวมวล และเพื่อประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพระบบทางเดินหายใจ ทำการเก็บตัวอย่างฝุ่นแยกขนาดในปี 2562 ในพื้นที่เขตเมืองและนอกเมืองทั้งในช่วงการเกิดภาวะมลพิษหมอกควัน (มีนาคม-เมษายน) ทุกๆ 2 วัน เว้น 2 วัน และนอกช่วงภาวะหมอกควัน (พฤษภาคม-มิถุนายน และพฤสจิกายน) เดือนละ 1 ครั้งการเก็บ ตัวอย่างฝุ่นแยกขนาดนั้นจะเก็บต่อเนื่องเป็นเวลา 48 ชั่วโมง ใช้เครื่องมือคัดแยกขนาดฝุ่น (cascade impactor) ที่มีอัตราการ ไหล 28.3 ลิตรต่อนาที ขนาคอนุภาคฝุ่นแบ่งเป็น 9.0-5.8, 5.8-4.7, 4.7-3.3 3.3-2.1, 2.1-1. 1, 1.1-0.65และ 0.65-0.43 ไมคร้อน จากนั้นทำการวิเคราะห์หาปริมาณสารพีเอเอชจำนวน 16ตัวโดย ใช้เครื่อง GC-MS ผลการศึกษาในช่วงมลพิษหมอกควันพบความเข้มข้นเฉลี่ยของฝุ่นรวม (9.0-0.43 ไมครอน) ในพื้นที่เมืองและพื้นที่นอกเมืองเป็น 105.0s#29.78 และ 128.42:39.17 ไมโครกรัมต่อ ลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ ความเข้มข้นของสารพีเอเอชรวมของฝุ่นในช่วงฤดูหมอกควันจะมีค่าสูงกว่า ช่วงนอกฤดูหมอกควัน เนื่องมาจากการเผาในที่โล่งอย่างเข้มข้น ในช่วงฤดูหมอกควันพบความเข้มข้น เฉลี่ยของสารพืเอเอชรวมในพื้นที่นอกเมืองเป็น 6.55ะ2.88 นาโนกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่งสูงเป็น 1.5 เท่าของพื้นที่ในเมือง ที่มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ยเป็น 4.27-1.95 นาโนกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ส่วนในช่วง นอกฤดูหมอกควันพื้นที่นอกเมือง (0.58:0.15 นาโนกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) มีคำความเข้มข้นของสาร พืเอเอชต่ำกว่าพื้นที่ใบเมือง (0.73:0.20 นาโนกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) เล็กน้อย เนื่องจากการลดลงของ การเผาในที่โล่งและผลของการปล่อยมลพิษจากการจราจรในเขตเมือง โดขอนุภาคช่วงขนาคเล็กที่สุด (0.65-0.43 ไมครอน) จะมีความเข้มข้นของฝุ่นและสารพีเอเอชสูงที่สุด โดยสารพีเอเอชชนิดเค่นที่พบ ในช่วงภาวะหมอกกวันคือ BbF (ร้อยละ 23-24 ของความเข้มข้นของสารพีเอเอชทั้งหมด) ซึ่งใช้บ่งชี้ ว่าการเผาในที่ โล่งเป็นแหล่งกำเนิดหลัก ในช่วงนอกฤดูหมอกควันนั้นพบ IND, BPER และ DbA ซึ่ง เป็นตัวบ่งชี้แหล่งกำเนิดจราจร สำหรับรูปแบบการกระจายของฝุ่นและสารประกอบพี่เอเอชจะมี รูปแบบเป็นไบโมดอล (bimodal) โดยพบพีคเด่น ในฝุ่นขนาด 0.65-0.43 ไมครอน และพบพี่ครองใน ฝุ่นขนาด 5.8-4.7 ไมครอน สำหรับสารพี่เอเอซที่มีมวลโมลกุลสูงจะพบรูปแบบการกระจายแบบพืค เดียวที่ฝุ่นขนาดเล็กที่สุด และความเข้มข้นของสารพีเอเอชที่พบในฝุ่นแต่ละขนาดจะ สามารถนำมา คำนวณค่าความเป็นพิษ (TEQ) และค่าความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งจากการหายใจ (ICR) ได้ ซึ่งพบว่า ในช่วงภาวะมลพิษหมอกควันในทั้งสองพื้นที่ศึกษามีความเสี่ยงสูงต่อการเป็นมะเร็งจากการหายใจ นอกจากนั้นยังพบคำความป็นพิษสูงสุดในฝุ่นละเอียดที่มีขนาดต่ำกว่า 2.1 ไมครอน ซึ่งสามารถสรุปได้ ว่าหากพบความเข้มข้นของฝุ่นละเอียดในบรรยากาสสูงจะเพิ่มความสี่ยงต่อสุขภาพที่เกี่ยวเนื่องกับระบบ ทางเดินหายใจด้วยเช่นกันen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610531112 วิทวัส อินเสียน.pdf4.67 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.