Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78512
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSongsak Sriboonchitta-
dc.contributor.advisorJianxu Liu-
dc.contributor.advisorWoraphon Yamaka-
dc.contributor.authorYang, Bingen_US
dc.date.accessioned2023-07-19T00:37:58Z-
dc.date.available2023-07-19T00:37:58Z-
dc.date.issued2021-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78512-
dc.description.abstractThis study aims to investigate the factors affecting inbound tourism demand in Thailand from both the “traditional” and “emerging” research perspectives. Given the characteristics of non-normality and asymmetry in the tourism data, a copula method is an important tool for modeling the dependence structure. Five main origin countries accounting for 51.9% of inbound tourism demand in Thailand in 2019 are selected for this study including China, Malaysia, South Korea, Laos, and Japan. Quarterly and monthly data from January 2004 to March 2021 are used for this analysis. Firstly, from a “traditional” research perspective, this study analyzes the long-term and short-term relationships between inbound tourism demand and influencing factors in Thailand through the ARDL and ECM models. Secondly, from an “emerging” research perspective of high interest, i.e., investigating the relationship between air pollution and inbound tourism demand. The copula-based on ARMA-GARCH model is used to capture the nonlinear dynamic relationship between air pollution and inbound tourism demand in Thailand. PM10 concentration as an indicator is used to capture the air pollution situation. Subsequently, this study also innovates the h-function forecasting method to predict inbound tourism demand. Lastly, from another “emerging” research perspective on the tourism economy, this study aims to identify the link between expected macroeconomic economic conditions and inbound tourism demand in Thailand through modelling their nonlinear dynamic dependence using a copula-based GARCH approach. To capture the expected economic conditions, the Thailand term structure of interest rate is used. The following main conclusions are obtained from the empirical analysis results. First, there is a long-term and short-term relationship between inbound tourism demand and influencing factors in Thailand. The word-of-mouth effect is an important factor that affects the long-term relationship of tourists’ behavioral persistence. And the income level of tourists is another important determinant of tourist travel to Thailand. Second, all pairwise correlations between air pollution and inbound tourism demand are time varying. There is a directional nonlinear causality from air pollution to inbound tourism demand for global, indicating that air pollution has an impact on tourism demand. By comparing the predictable values and actual values, the MAPE of the h-function forecasting method is in the acceptable range. Third, there is a time-varying dependence between expected economic growth and inbound tourism from all countries except South Korea. Besides this, the empirical evidence supports the tourism-oriented economic growth hypothesis, the economic-driven-tourism growth hypothesis, and the neutral hypothesis, respectively. It is also shown that the tourism-economic growth dependence is influenced by extreme events (global financial crisis, Thai floods, Thai coup, and China-United States trade conflicts). Finally, basing on the empirical results of this study, policy recommendations are made for the development of inbound tourism in Thailand from three perspectives: tourism products, brand image building, and economic development. And enlightenments also provided for the economic recovery of Thailand after the pandemic of COVID-19 in the aspect of the tourism-economic growth relationship.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleAnalysis of factors affecting inbound tourism demand in Thailanden_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความต้องการการท่องเที่ยวขาเข้าในประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshThailand -- Description and travel-
thailis.controlvocab.lcshTourists -- Decision making-
thailis.controlvocab.lcshTravel - - Economic aspects-
thailis.controlvocab.lcshTravel - - Economic aspects - - China-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้องการการท่องเที่ยวขาเข้าของประเทศไทยจากมุมมองการวิจัยทั้งแบบดั้งเดิมและที่เกิดขึ้นใหม่ เมื่อพิจารณาถึงลักษณะของฤดูกาล ความไม่ปกติ ความไม่สมมาตรในข้อมูลการท่องเที่ยว วิธีคอปูลาเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับการสร้างแบบจำลองโครงสร้างการพึ่งพาอาศัยกัน ประเทศต้นทางหลัก 5 ประเทศถูกเลือกมาศึกษาในครั้งนี้ ซึ่งคิดเป็น 51.9% ของความต้องการการท่องเที่ยวขาเข้าในประเทศไทย ในปี 2562 ได้แก่ จีน มาเลเซีย เกาหลีใต้ ลาว และ ญี่ปุ่น โดยใช้ข้อมูลรายไตรมาสและรายเดือนตั้งแต่มกราคม 2547 ถึงมีนาคม 2564 สำหรับการวิเคราะห์นี้ ประการแรก จากมุมมองการวิจัยดั้งเดิม การศึกษานี้วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระยะยาวและระยะสั้นระหว่างความต้องการการท่องเที่ยวขาเข้ากับปัจจัยที่มีอิทธิพลในประเทศไทยผ่านแบบจำลองเออาร์ดีแอล (ARDL) และอีซีเอม (ECM) ประการที่สองจากมุมมองการวิจัยที่เกิดขึ้นใหม่ที่มีความน่าสนใจสูง กล่าวคือ การตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างมลพิษทางอากาศและความต้องการการท่องเที่ยวขาเข้า โดยใช้แบบจำลองอาร์มา-การ์ช (ARMA-GARCH) ที่ใช้คอปูลาเพื่อจับความสัมพันธ์ที่ไม่เป็นเชิงเส้นระหว่างมลพิษทางอากาศและความต้องการการท่องเที่ยวขาเข้าในประเทศไทย ความเข้มข้นของพีเอม 10 (PM10) เป็นตัวบ่งชี้เพื่อใช้บันทึกสถานการณ์มลพิษทางอากาศ ต่อจากนั้น การศึกษานี้ยังได้คิดค้นวิธีการพยากรณ์แบบเอชฟังก์ชันเพื่อคาดการณ์อุปสงค์ของการท่องเที่ยวขาเข้าอีกด้วย สุดท้ายนี้จากมุมมองการวิจัยที่กำลังเกิดขึ้นใหม่เกี่ยวกับเศรษฐกิจการท่องเที่ยว การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อระบุความเชื่อมโยงระหว่างสภาวะเศรษฐกิจมหภาคที่คาดการณ์ไว้กับความต้องการการท่องเที่ยวขาเข้าในประเทศไทย ผ่านการสร้างแบบจำลองการพึ่งพาแบบไดนามิกที่ไม่เป็นเชิงเส้นโดยใช้แนวทางการ์ชที่ใช้คอปูลาเพื่อให้ได้สภาวะเศรษฐกิจที่คาคหวังจะ ใช้โครงสร้างอัตราดอกเบี้ยของประเทศไทย จากข้อสรุปหลักประกอบด้วยผลการวิเคราะห์เชิงประจักษ์ดังต่อไปนี้ ประการแรก มีความสัมพันธ์ระยะยาวและระยะสั้นระหว่างอุปสงค์การท่องเที่ยวขาเข้ากับปัจจัยที่มีอิทธิพลในประเทศไทย ผลกระทบจากคำพูดปากต่อปากเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อความสัมพันธ์ระยะยาวของพฤติกรรมคงอยู่ของนักท่องเที่ยว และระดับรายได้ของนักท่องเที่ยวก็เป็นปัจจัยสำคัญอีกประการหนึ่งของการท่องเที่ยวไทย ประการที่สอง ความสัมพันธ์แบบคู่ระหว่างมลพิษทางอากาศและความต้องการการท่องเที่ยวขาเข้านั้นแปรผันตามเวลา มีสาเหตุไม่เชิงเส้นตรงจากมลพิษทางอากาศไปจนถึงความต้องการการท่องเที่ยวขาเข้าสำหรับทั่วโลก ซึ่งบ่งชี้ว่ามลพิษทางอากาศมีผลกระทบต่อความต้องการการท่องเที่ยว โดยการเปรียบเทียบค่าที่ทำนายไว้กับค่าจริงเอมเอพีอี (MAPE) ของวิธีการพยากรณ์ฟังก์ชันเอชอยู่ในช่วงที่ยอมรับได้ ประการที่สาม มีการพึ่งพาอาศัยกันระหว่างการเติบโตทางเศรษฐกิจที่คาคหวังกับการท่องเที่ยวขาเข้าจากทุกประเทศยกเว้นประเทศเกาหลีใต้ นอกจากนี้ หลักฐานเชิงประจักษ์สนับสนุนสมมติฐานการเติบโตทางเศรษฐกิจที่นำโดยการท่องเที่ยว สมมติฐานการเติบโตของการท่องเที่ยวที่ขับเคลื่อน โดยเศรษฐกิจ และ สมมติฐานที่เป็นกลางตามลำดับ นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นอีกด้วยว่าการพึ่งพาการเติบโตทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวนั้นได้รับอิทธิพลจากเหตุการณ์รุนแรง (วิกฤตการเงินโลก, อุทกภัยในไทย, รัฐประหารของไทย และความขัดแย้งทางการระหว่างจีนกับสหรัฐอเมริกา) ประการสุดท้าย จากผลเชิงประจักษ์ของการศึกษานี้ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสำหรับการพัฒนาการท่องเที่ยวขาเข้าในประเทศไทยจาก 3 มุมมองที่เสนอ คือ ผลิตภัณฑ์ด้านการท่องเที่ยว การสร้างภาพลักษณ์ของแบรนด์ และการพัฒนาเศรษฐกิจ ทั้งยังให้ดวามกระจ่างแก่การฟื้นตัวของเศรษฐกิจของประเทศไทยหลังการระบาของโควิด-19 จากมุมมองของความสัมพันธ์ระหว่างการท่องเที่ยวและการเติบโตทางเศรษฐกิจen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611655806 YANG, BING.pdf19.59 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.