Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78510
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกรรณิการ์ อินต๊ะวงศ์-
dc.contributor.advisorวราภรณ์ บุญเชียง-
dc.contributor.authorยงยุทธ ซุยลาen_US
dc.date.accessioned2023-07-18T00:50:51Z-
dc.date.available2023-07-18T00:50:51Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78510-
dc.description.abstractThis Participatory Action Research aimed to develop a community participation program (CPP) in Ememergency Medical Services for the elderly at Suthep sub-district municipality in Chiang Mai province, and to compare community participation average before and after receiving the program (CPP), including to study possibility of using the program. By using community participation concept of Cohen & Upholf and using general Ememergency Medical Services concept. The study was divided into 3 phases: phase 1: Situation Analysis, Phase 2: Implementation, and Phase 3 Evaluation. Population and samples were devided according to the phases ; phase 1: the sample of 17 people was purposively selected, including officers and community representatives. Phase 2: Implementation and Phase 3 Evaluation: the sample size was 151 people (calculated from 2960 people), and the same 17 people from Phase 1 were used. Tools; phase 1 was the group discussion questions for analysis of the situation of community participation for developing the program (CPP), Phase 2 was the developed program and Phase 3 consisted of 3 tools, namely the community participation questionnaire, possibility of using the program questionnaire, and group discussion that question on the possibility of using the program. Data analysis were qualitative data analyzed by dividing the data into categories and quantitative data by using percentage, mean, and standard deviation. The mean was compared using Paired t-test statistics before and after receiving the program. The community participation program depends on the results of the situation analysis. Phase 2 found that the community cooperates in continue using the program and in the third phase after using the program found that the average community participation value statistically significantly higher (p<0.001) and possible to apply to similar contexts. Suggestions should be made to apply the program in other contexts.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อระบบการแพทย์ฉุกเฉินสำหรับผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลสุเทพในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDevelopment of community participation program in emergency medical services for the elderly at Suthep Sub-district Municipality in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashแพทย์ฉุกเฉิน -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- การดูแล-
thailis.controlvocab.thashเทศบาลตำบลสุเทพ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมการมีส่วนร่วม ของชุมชนต่อระบบการแพทย์ฉุกเฉินสำหรับผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลสุเทพในจังหวัดเชียงใหม่ (โปรแกรมการมีส่วนร่วมของชุมชนฯ) และเพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของชุมชน ก่อนและหลัง การได้รับโปรแกรมกรมีส่วนร่วมของชุมชน ฯ รวมไปถึงเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้ โปรแกรมการมีส่วนร่วมของชุมชนฯ โดยใช้แนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชนของ Cohen & Upholf และแนวทางของการแพทย์ฉุกเฉินในการพัฒนาโปรแกรมการมีส่วนร่วมของชุมชนดังกล่าว การวิจัย แบ่งเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การวิเคราะห์สถานการณ์ ระยะ ที่ 2 การดำเนินการและ ระยะที่ 3 การ ประเมินผล ประชากรและกลุ่มตัวอย่างตามระยะการศึกษา ได้แก่ ระยะที่ 1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 17 คน เลือกแบบเจาะจง ได้แก่ เจ้าหน้าที่และตัวแทนชุมชน ระยะที่ 2 การดำเนินการและระยะที่ 3 การ ประเมินผล ศึกษาในกลุ่มตัวอย่าง โดยมีขนาดตัวอย่างคือผู้สูงอายุ 151 คน (คำนวณจาก 2960 คน) และประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 17 คนเดิมจากระยะ ที่ 1 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ระยะที่ 1 คือ แนว คำถามสนทนากลุ่มการวิเคราะห์สถานการณ์การมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อพัฒนาโปรแกรมการมีส่วน ร่วมของชุมชนฯ ระยะที่ 2 คือ โปรแกรมการมีส่วนร่วมของชุมชนฯที่พัฒนาขึ้น และระยะที่ 3 มี 3 เครื่องมือ ได้แก่ แบบสอบถามการมีส่วนร่วมของชุมชน แบบสอบถามความเป็นไปได้โปรแกรมการมี ส่วนร่วมของชุมชนและแนวคำถามการสนทนากลุ่มความเป็นไปได้ในการใช้โปรแกรมที่พัฒนาขึ้น การวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลเชิงคุณภาพวิเคราะห์ โดยการแบ่งข้อมูลเป็นหมวดหมู่ และข้อมูลเชิง ปริมาณโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย โดยใช้สถิติ Paired t-test ก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมการมีส่วนร่วมของชุมชนที่พัฒนาขึ้น ผลการศึกษา พบว่า ระยะที่ 1 กลุ่มตัวอย่างได้ร่วมกันพัฒนาโปรแกรมการมีส่วนร่วมของ ชุมชนต่อระบบการแพทย์ฉุกเฉินสำหรับผู้สูงอายุขึ้นตามผลการวิเคราะห์ สถานการณ์ ระยะที่ 2 พบว่า ชุมชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการใช้โปรแกรมการมีส่วนร่วมของชุมชนที่พัฒนาขึ้น และใน ระยะที่ 3 หลังการใช้โปรแกรมการมีส่วนร่วมฯ พบว่าคะแนนเฉลี่ยการมีส่วนร่วมของชุมชนมีค่า สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.00 1) ทั้ง 5 ด้าน และมีความเป็นไปได้ในการนำไปใช้กับบริบทที่ ใกล้เคียงกัน ข้อเสนอแนะ ควรมีการนำโปรแกรมการมีส่วนร่วมของชุมชนนี้ไปใช้และศึกษาใน บริบทอื่นๆ ต่อen_US
thesis.concealPublish (Not conceal)en_US
Appears in Collections:PH: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
612232010 YONGYUT SUILA.pdf1.88 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.