Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78506
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorParavee Maneejuk-
dc.contributor.advisorWoraphon Yamaka-
dc.contributor.authorGuo, Liyeen_US
dc.date.accessioned2023-07-17T00:40:11Z-
dc.date.available2023-07-17T00:40:11Z-
dc.date.issued2021-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78506-
dc.description.abstractThis study aims to investigate the impact of education and economic development on income inequality in China. This study uses the linear panel quantile regression model and quadratic panel quantile regression model as an analysis tool. The data used in this study are panel data of 31 provinces in China spanning from 2004-2019. This study is based on the Kuznets hypothesis that an early stage, education and economic variables may increase income inequality. But then, when the economy continuously develops and people can access education properly or reach a certain level of development, income inequality is reduced. Therefore, this study adds an extension of the standard Kuznets curve by including a various educational and economic indicators in the empirical model and investigating it using China’s dataset. The results show that education has a significant role in reducing income inequality in China. In particular, decreasing the average years of schooling, the number of primary schools and junior high schools can help reduce income inequality in 31 provinces in China. Moreover, increasing the teacher-student ratio of secondary schools, the number of universities, and rising inflation rate may help reduce income inequality at the provincial level. Finally, based on the quadratic panel quantile regression model, this study found that there exists a nonlinear relationship, corresponding to the Kuznets curve hypothesis, between the average years of schooling and income inequality in 31 Provinces of China. However, this study failed to find the significant nonlinear relationship between GDP per capita and income inequality, indicating no Kuznets curve for this dataset.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleThe Role of education in the Kuznets Curve: evidence from 31 provinces in Chinaen_US
dc.title.alternativeบทบาทของการศึกษาในโค้งคุซเน็ตส์: หลักฐานจาก 31 มณฑลในประเทศจีนen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashKuznets curve-
thailis.controlvocab.thashKuznets curve hypothesis-
thailis.controlvocab.thashEducation -- China-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบผลกระทบของการศึกษาและการพัฒนาเศรษฐกิจต่อความไม่เท่าเทียมกันทางรายได้ในประเทศจีน การศึกษานี้ใช้แบบจำลองการถดถอยเชิงเส้นแบบควอนไทล์ร่วมกับข้อมูลพาแนลและแบบจำลองการถดถอยที่ไม่เป็นเชิงเส้นแบบควอนไทล์ร่วมกับข้อมูลพาแนลเป็นเครื่องมือวิเคราะห์ ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษานี้คือข้อมูลพาแนลของ 31 จังหวัดในประเทศจีน ระหว่าง พ.ศ. 2547-2562 การศึกษานี้อยู่บนสมมติฐานของเส้นโค้งคุซเน็ตส์ที่ว่าในช่วงแรกของการพัฒนา การศึกษาและตัวแปรทางเศรษฐกิจต่างๆ อาจส่งผลทำให้ความเหลื่อมล้ำทางรายได้เพิ่มสูงขึ้น แต่ในเวลาต่อมาที่เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่องและผู้คนมีการเข้าถึงการศึกษาอย่างทั่วถึง หรือมีการพัฒนามากจนถึงระดับหนึ่งก็จะทำให้ความเหลื่อมล้ำทางรายได้ลดลง ดังนั้นงานวิจัยฉบับนี้จึงได้ต่อยอดแนวคิดดั้งเดิมของเส้นโค้งคุซเน็ตส์ โดยเพิ่มปัจจัยด้านการศึกษาและปัจจัยด้านเศรษฐกิจเข้าไปในแบบจำลองที่ใช้ในการศึกษาเชิงประจักษ์และทำการพิสูจน์ โดยใช้ข้อมูลของประเทศจีน ผลการศึกษาพบว่าการศึกษามีบทบาทสำคัญในการลดความเหสื่อมล้ำทางรายได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจำนวนปีการศึกษาเฉลี่ย จำนวนโรงเรียนระดับปฐมศึกษาและต่ำกว่า สามารถช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางรายได้ใน 31 จังหวัดในจีนได้ นอกจากนี้การเพิ่มขึ้นของสัดส่วนครูต่อนักเรียนในระดับมัธยมศึกษา จำนวนมหาวิทยาลัย และการเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อ สามารถช่วยลดความเหลื่อมล้ำในระดับจังหวัดได้ ประการสุดท้ายจากแบบจำลองการถดถอยที่ไม่เป็นเชิงเส้นแบบควอนไทล์ ได้แสดงความสัมพันธ์ที่ไม่เป็นเชิงเส้นระหว่างจำนวนปีการศึกษาโดยเฉลี่ยกับความเหลื่อมล้ำทางรายได้ภายใต้สมมติฐานของคุซเน็ตส์ใน 31 จังหวัดในประเทศจีน อย่างไรก็ตาม การศึกษานี้ไม่สามารถค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างรายได้ต่อหัวกับความเหลื่อมล้ำทางรายได้ตามสมมติฐานของคุซเน็ตส์ในข้อมูลชุดนี้en_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621635802 LIYE GUO.pdf1.28 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.