Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78436
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWoottichai Khamduang-
dc.contributor.advisorNgo-Giang-Huong, Nicole-
dc.contributor.authorSirinath Choyrumen_US
dc.date.accessioned2023-07-11T11:04:21Z-
dc.date.available2023-07-11T11:04:21Z-
dc.date.issued2021-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78436-
dc.description.abstractZika virus (ZIKV) infection had emerged in Western Pacific in 2007 and rapidly spread to several areas in the world. ZIKV was declared a public health emergency of international concern in 2016. However, epidemiological data on the situation of ZIKV in Thailand is still limited. This study aimed to 1) assess ZIKV IgG seroprevalence among young adults in Thailand during the period 1997-2017, 2) assess whether ZIKV seroprevalence depends on HIV status and, 3) determine the factors associated with ZIKV IgG seropositivity. I performed a retrospective laboratory study using plasma samples and data collected during several large clinical studies conducted between 1997 and 2017 in Thailand that included HIV-infected, HIV-uninfected, and HBV-infected pregnant women as well as general population. ZIKV IgG was assessed on stored plasma/serum samples using the Anti-Zika Virus IgG ELISA (EUROIMMUN, Germany). The proportions of ZIKV IgG seropositivity between each period and between the HIV- infected and -uninfected groups were compared using the Chi-Square test. Univariable and multivariable analysis were performed to identify factors associated with ZIKV IgG positivity. ZIKV IgG seroprevalence in the country seems to be stable ranging from 24.3% to 27.4% and the overall prevalence was 23.1% in general population and 25.2% in pregnant women. ZIKV IgG seroprevalence was similar in HIV-infected and HIV- uninfected pregnant women (22.8% vs 25.8%, p-value = 0.335). Factors independently associated with a high rate of ZIKV IgG positivity included being aged 23-25 years and having HIV RNA load below 3.88 log10 copies/mL, while being born in Northern region of Thailand independently associated with a low rate of ZIKV IgG positivity. Our study suggests that a large proportion of young adult in Thailand probably remains susceptible to ZIKV infection. Continued surveillance of the ZIKV spread is needed to monitor the incidence of ZIKV infection in Thailand in young population, its possible impact on birth outcomes, and plan measures to prevent the outbreak in the future.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleSeroprevalence of Zika Virus immunoglobulin G among pregnant women in Thailand during 1997-2014en_US
dc.title.alternativeความชุกของอิมมูโนโกลบูลินจีต่อเชื้อไวรัสซิก้าในหญิงตั้งครรภ์ในประเทศไทยช่วงปี พ.ศ. 2540-2557en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshZika virus-
thailis.controlvocab.lcshZika virus infection-
thailis.controlvocab.lcshImmunoglobulin G-
thailis.controlvocab.lcshImmunoglobulins-
thailis.controlvocab.lcshEpidemiology-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคติดเชื้อไวรัสซิก้าอุบัติขึ้นในกลุ่มประเทศแถบตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกช่วงปี พ.ศ. 2550 ก่อนแพร่กระจายไปยังหลายพื้นที่ทั่วโลกและถูกประกาศให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของ โลกในปี พ.ศ.2559 ทว่าสำหรับประเทศไทยข้อมูลด้านระบาดวิทยาที่จะช่วยอธิบายถึงสถานการณ์การ ติดเชื้อไรรัสชิก้ายังคงมีอยู่อย่างจำกัด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินความชุกของอิมมูโน โกลบูลินชนิดจีต่อเชื้อไวรัสซิก้าในประชากรวัยผู้ใหญ่ตอนต้นในประเทศไทยในช่วงปี พ.ศ.2540- 2560, 2) ประเมินว่าความชุกของภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสซิก้านั้นขึ้นอยู่กับสถานะการติดเชื้อเอชไอวี หรือไม่, 3) ระบุปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการมีอิมมูโนโกลบูลินชนิดจีต่อเชื้อไวรัสซิก้า การศึกษานี้ เป็นการศึกษาทางห้องปฏิบัติการแบบย้อนหลังโดยใช้ตัวอย่างและข้อมูลจากหลายงานวิจัยทางคลินิก ที่ดำเนินการในประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ.2540 ถึง 2560 ซึ่งประกอบด้วยหลายกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อและไม่ติดเชื้อเอชไอวี กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี รวมถึง กลุ่มประชากรทั่วไป ผู้วิจัยทำการตรวจหาอิมนูโนโกลบูลินจีต่อเชื้อไวรัสซิก้าในตัวอย่างซีรั่ม/ พลาสม่าที่ถูกเก็บไว้โคยใช้ชุดทดสอบ Anti-Zila Vius IgG ELISA (EUROIMMUN, Germany) ผู้วิจัยทำการเปรียบเทียบสัดส่วนของตัวอย่างที่ให้ผลบวกต่ออิมมูโนโกลบูลินจีต่อเชื้อไวรัสซิก้าในแต่ ละช่วงเวลาที่ศึกษา และเปรียบเทียบสัดส่วนระหว่างผลบวกของกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี และหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่ติดเชื้อเอชไอวีโดยใช้สถิติ Chi-Square ผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์แบบ univariable และ multivariable ในการระบุปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการพบอิมมูโนโกลบูลินจีต่อเชื้อไวรัสซิก้า ผล การศึกษาพบว่า ความชุกของอิมมูโนโกลบูลินจีต่อเชื้อไวรัสซิก้าในประเทศไทยมีแนวโน้มคงที่อยู่ ในช่วงระหว่าง 24.3-27.4% โดยในภาพรวม ความซุกดังกล่าวมีค่าเฉลี่ยที่ 23.1% ในกลุ่มประชากร ทั่วไป และที่ 25. 1% ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ความชุกของอิมมูโนโกลบูลินจีต่อเชื้อไวรัสซิก้าไม่มีความ แตกต่างกันระหว่างหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อและไม่ติดเชื้อเอชไอวี (22.8% และ 25.8%, p-value = 0.335) ในส่วนผลการศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องพบว่า การมีช่วงอายุ 23-25 ปี และการมีปริมาณไวรัสเอชไอวีใน เลือดต่ำกว่า 3.88 log10 copies/mL มีความสัมพันธ์อย่างเป็นอิสระต่ออัตราการตรวจพบอิมมูโนโกลบู ลินจีต่อเชื้อไวรัสซิก้าที่สูง ส่วนการมีถิ่นกำเนิดอยู่ในภาคเหนือมีความสัมพันธ์อย่างเป็นอิสระต่ออัตรา การตรวจพบอิมมูโนโกลบูลินจีต่อเชื้อไวรัสซิก้าที่ต่ำ การศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่าประชากรวัยผู้ใหญ่ ตอนต้นในประเทศไทยส่วนใหญ่ยังคงสามารถติดเชื้อไวรัสซิก้าได้ ดังนั้นประเทศไทยจึงจำเป็นต้องมี การเฝ้าระวังการระบาคของเชื้อไวรัสซิก้าอย่างต่อเนื่อง เพื่อศึกษาและติดตามอุบัติการณ์ของการติด เชื้อและผลกระทบร้ายแรงของการติดเชื้อต่อมารดาและทารก รวมถึงการวางมาตรการเพื่อป้องกันการ ระบาดที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตen_US
Appears in Collections:AMS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601131019 ศิรินาถ โชยรัมย์.pdf2.78 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.