Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78421
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPaiboon Hengsuwan-
dc.contributor.advisorAriya Svetamra-
dc.contributor.advisorMiddleton, Carl-
dc.contributor.authorLy, Quoc Dangen_US
dc.date.accessioned2023-07-11T09:10:23Z-
dc.date.available2023-07-11T09:10:23Z-
dc.date.issued2021-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78421-
dc.description.abstractThe main objectives of this research are to A) identify and understand how women in cityexperience vulnerability to flooding; B) the impact of flooding on women; C) and how women use knowledge about flooding as tools for agency and empowerment. The first concept I use isvulnerability, which focuses on how risk impacts women's immobil- ity, burden of work, economic losses, and emotional impacts. The second concept, women's empowerment, focuses on the intersection of knowledge and agency during floods. These concepts are examined through the intersection of gender, class, age, disa- bility. Three research sites located in different areas in Can Tho City highlighta range of vulnerability, impacts, and coping strategies in women's experience of floods. Qualitative data collection included a household survey, followed by in depth-interviews of women and relevant actors, participant observation, and mapping. The research found that in the context of the emergent phenomenon of urban flooding, both women and men are vulnerable to flood impacts, but outcomes tend to be worse for women because their lives are closer to the floods. Women's vulnerability is multiplied by theirimmobility during flooding. They play additional roles which burden them with both work and health problems. Additionally, women experience three types of economic losses: first, personal losses from health problems associated with close contact with flood waters; second, income losses from limited economic participation and employment during the flooding period; and third, household losses from the loss of property. In six detailed interviews (elder, lottery seller, street seller; disability, bottle collector, lecturer) women expressed emotional and psychological burdens they experienced during the flooding period, but their experiences were shaped by their social contexts or demographic characteristics. For example, "pain" was a key emotion for over- worked and elderly women, low-income and small-business owning women expressed "fear" due to risks to income. Many women were able to use their knowledge in order to re-shape flood outcomes. Women who were successful in this regard used both knowledge spheres as women's experience and women's participation in order to achieve their goals. Among the women who participated in this study, the elderly and disabled were more marginalized, and less able to overcome flooding than other women because of their physical limitations and diminished social and family support. In sum, while most women had sufficient knowledge to overcome flood risks, women who were already marginalized or disabled, and who had less social support, were not able to take action on their knowledge in order to reduce flood risks. Therefore, policies and development programs needed to help empower these women.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleVulnerable’s lives of women and empowerment process in urban flooding in Can Tho City, Vietnamen_US
dc.title.alternativeชีวิตเปราะบางของสตรีและกระบวนการเสริมอำนาจในพื้นที่น้ำท่วมในเมืองคั่นเทอ ประเทศเวียดนามen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshWomen -- Vietnam-
thailis.controlvocab.lcshFloods -- Vietnam-
thailis.controlvocab.lcshFloodplains -- Vietnam-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์หลักของการวิจัยนี้คือ 1) ตรวจสอบและทำความเข้าใจว่าสตรีในเมืองประสบ ความเสี่ยงต่อภาวะน้ำท่วมอย่างไร 2) ผลกระทบของอุทกภัยต่อผู้หญิง 3) และผู้หญิงใช้ความรู้เกี่ยวกับ อุทกภัยเป็นเครื่องมือในการเป็นผู้กระทำการและเสริมอำนาจอย่างไรแนวคิดแรกที่ใช้คือความ เปราะบางซึ่งมุ่งเน้นถึงความเสี่ยงที่ส่งผลต่อการไม่สามารถเคลื่อนย้ายของผู้หญิงได้อย่างไรภาระงาน หนักความสูญเสียทางเศรษฐกิจ และผลกระทบทางอารมณ์แนวความคิดที่สองคือการเสริมอำนาจ ของผู้หญิงมุ่งเน้นถึงการซ้อนทับของความรู้ และการเป็นผู้กระทำการในช่วงน้ำท่วมแนวความคิด เหล่านี้ถูกตรวจสอบ โดยความแตกต่างของเพศภาวะได้แก่ ฐานะ อายุ และความทุพพลภาพ พื้นที่วิจัย ทั้งสามแห่งตั้งอยู่ในพื้นที่ต่าง ๆ ของเมืองคันเท่อที่มุ่งเน้นถึงความเปราะบางในระดับต่าง ๆ ผลกระทบ ต่างๆ และกลยุทธ์ในการจัดการกับประสบการณ์น้ำท่วมของผู้หญิงการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ ประกอบด้วย การสำรวจครัวเรือน การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้หญิง และผู้กระทำการที่เกี่ยวข้อง การสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม และการทำแผนที่ การวิจัยพบว่าในบริบทของปรากฏการณ์อุทกภัยในเมืองทั้งผู้หญิง และผู้ชายมีความเสี่ยงต่อ ผลกระทบจากน้ำท่วมแต่ผลลัพธ์มักจะแย่ลงสำหรับผู้หญิงเพราะชีวิตของพวกเธออยู่ใกล้กับน้ำท่วม มากขึ้นความเปราะบางของผู้หญิงทวีขึ้นด้วยการไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ในช่วงน้ำท่วมผู้หญิงมี บทบาทเพิ่มขึ้นซึ่งเป็นภาระงานที่หนักแก่พวกเธอทั้งปัญหาการทำงาน และปัญหาสุขภาพ นอกจากนี้ ผู้หญิงยังประสบกับความสูญเสียทางเศรษฐกิจสามประเภท: ประการแรกความสูญเสียส่วนบุคคลจาก ปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการสัมผัสน้ำท่วมอย่างใกล้ชิดประการที่สองการสูญเสียรายได้จากการมี ส่วนร่วมทางเศรษฐกิจที่จำกัด และการจ้างงานในช่วงน้ำท่วม และประการที่สามความสูญเสียใน ครัวเรือนจากการสูญเสียทรัพย์สิน ในการสัมภาษณ์อย่างละเอียดจากผู้หญิงทั้ง 6 กลุ่ม (ผู้สูงอายุ คนขายลอตเตอรี่ คนขายของตาม ท้องถนน ผู้ทุพพลภาพ คนเก็บขวด ครูผู้สอน) ผู้หญิงได้แสดงถึงภาวะทางอารมณ์ และภาระทางจิตใจ ที่พวกเขาประสบในช่วงน้ำท่วมแต่ประสบการณ์ของพวกเธอถูกหล่อหลอมตามบริบททางสังคมหรือ ลักษณะทางประชากรศาสตร์ตัวอย่างเช่น "ความเจ็บปวด" เป็นอารมณ์สำคัญสำหรับผู้หญิงที่มีภาระ ทำงานที่หนักเกินไปผู้หญิงสูงอายุที่มีรายได้น้อย และเป็นเจ้าของธุรกิจขนาดเล็กแสดง "ความกลัว" เนื่องจากความเสี่ยงค้านรายได้ ทั้งนี้ผู้หญิงหลายคนสามารถใช้ความรู้ของตนเพื่อปรับเปลี่ยนผลลัพธ์ ของน้ำท่วมผู้หญิงที่ประสบความสำเร็จในเรื่องนี้ใช้ทั้งพื้นที่ความรู้ที่เป็นประสบการณ์ของผู้หญิง และการมีส่วนร่วมของผู้หญิงเพื่อให้บรรลุเป้าหมายในบรรดาผู้หญิงที่เข้าร่วมในการศึกษานี้ผู้สูงอายุ และผู้ทุพพลภาพถูกทำให้เป็นคนชายขอบมากขึ้น และมีความสามารถน้อยกว่าผู้หญิงในกลุ่มอื่น ๆ ใน การเอาชนะน้ำท่วมเนื่องจากข้อจำกัดทางร่างกาย และการสนับสนุนทางสังคม และครอบครัวที่ลดลง กล่าวโดยสรุปในขณะที่ผู้หญิงส่วนใหญ่มีความรู้เพียงพอที่จะเอาชนะความเสี่ยงจากอุทกภัยได้แต่ ผู้หญิงที่ด้อย โอกาสหรือทุพพลภาพอยู่แล้ว และยังได้รับการสนับสนุนจากสังคมที่น้อยกว่าก็ไม่ สามารถดำเนินการตามความรู้ของพวกเขาเพื่อลดความเสี่ยงจากอุทกภัยได้ดังนั้นนโยบาย และ โครงการพัฒนาต่าง ๆ จึงมีความจำเป็นเพื่อช่วยเสริมอำนาจให้กับสตรีเหล่านี้en_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590455803 LY QUOC DANG LY -.pdf4.8 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.