Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78397
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชิตชล ผลารักษ์-
dc.contributor.authorลลิตา ประชานิยมen_US
dc.date.accessioned2023-07-09T06:38:24Z-
dc.date.available2023-07-09T06:38:24Z-
dc.date.issued2022-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78397-
dc.description.abstractCurrently, Alternate wet and dry lowland rice (AWD) a water management technique for efficient use of water resources and reduce the use of water resources for rice cultivation. This study was aimed to evaluate the water supply in the study site and to evaluate the water footprint of rice cultivation with different water management, i.e. (1) Alternate wet and dry lowland rice (AWD) (2) Conventional lowland rice (CL) and (3) Upland rice (UL) to evaluate the water situation in the study site as well as the total amount of water used throughout the rice growth. The study was conducted in – season and off season of rice cultivation during November 2019 to October 2020 in Mae Hong Krai, Doi Saket District, Chiang Mai and Mae La-up, Kalayani Vadhana District , Chiang Mai. CROPWAT 8.0 program was used to calculate the amount of water used of rice for evapotranspiration. As result, Water supply in Mae Hong Krai has water supply equal to 1,041,467 m3 and Mae La-up has water supply equal to 11,812,190 m3. Water supply in the area is used for consumption or irrigation in agriculture. AWD method, Total water footprint of Mae Hong Krai (MK – AWD) in – season was lowest equal to 1,164.06 m3 /ton and total water footprint of Mae La-up (MU – AWD) was highest equal to 3,021.45 m3 /ton. In Mae Hong Krai, Total water footprint of AWD method was lower than CL method in both cultivation seasons (in-season: 1,164.06 and 1,417.53 ± 72.89 m3/ton, respectively; off-season: 2,230.18 and 2,376.25 ± 280.76 m3 /ton, respectively). In Mae La-up, Total water footprint of UL method was lower than AWD method (1,588.73 ± 313.87 and 3,021.45 ± 975.14 m3/ton, respectively). The results of this study showed that the assessment water supply and water footprint are the tools that can reflect the differences in water resource management methods, environmental factors, climate data, rainfall, yield and chemical application.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์รอยเท้าน้ำของข้าวนาดำและข้าวไร่ในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeWater footprint analysis of lowland rice and upland rice in Chiang Mai provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashข้าว -- การปลูก -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashข้าวนาดำ-
thailis.controlvocab.thashข้าวไร่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractปัจจุบันได้มีการส่งเสริมการปลูกข้าวแบบเปียกสลับแห้ง ซึ่งเป็นเทคนิคการจัดการน้ำเพื่อการใช้ทรัพยากรน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ ลดการใช้ทรัพยากรน้ำที่เสียเปล่าสำหรับการเพาะปลูกข้าว งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินน้ำต้นทุนในพื้นที่ศึกษาและประเมินค่ารอยเท้าน้ำของการปลูกข้าวที่มีการจัดการน้ำต่างกัน คือ (1) ข้าวนาดำแบบเปียกสลับแห้ง (Alternate wet and dry lowland rice; AWD) (2) ข้าวนาดำทั่วไป (Conventional lowland rice; CL) และ (3) ข้าวไร่ (Upland rice; UL) ทำการศึกษาทั้งในฤดูและนอกฤดูการเพาะปลูกข้าว (พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 – ตุลาคม พ.ศ. 2563) พื้นที่ศึกษาบ้านแม่ฮ่องไคร้ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ และ บ้านแม่ละอุป อำเภอกัลยาณิ-วัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ อีกทั้งใช้โปรแกรม CROPWAT 8.0 เข้ามาช่วยในการคำนวณหาปริมาณน้ำที่พืชใช้ในการคายระเหยน้ำ ผลจากการศึกษาประเมินน้ำต้นทุน พบว่า บ้านแม่ฮ่องไคร้ อำเภอ ดอยสะเก็ดมีปริมาณน้ำต้นทุน เท่ากับ 1,041,467 ลูกบาศก์เมตร ส่วนบ้านแม่ละอุป อำเภอกัลยาณิ-วัฒนา มีปริมาณน้ำต้นทุน เท่ากับ 11,812,190 ลูกบาศก์เมตร ซึ่งปริมาณน้ำต้นทุนในพื้นที่จะสามารถใช้สำหรับการวางแผนการอุปโภค บริโภค หรือการชลประทานในการทำเกษตรกรรมได้ การประเมินค่ารอยเท้าน้ำของการปลูกข้าวแบบข้าวนาดำแบบเปียกสลับแห้งของแปลงพื้นที่ศึกษาบ้านแม่ฮ่องไคร้ (MK – AWD) ที่มีการเพาะปลูกในฤดูกาลมีค่ารอยเท้าน้ำรวมน้อยที่สุด เท่ากับ 1,164.06 ลูกบาศก์เมตรต่อตัน และแปลงศึกษาแบบข้าวนาดำแบบเปียกสลับแห้งในพื้นที่ศึกษาบ้านแม่ละอุป (MU – AWD) มีค่ารอยเท้าน้ำรวมมากที่สุด เท่ากับ 3,021.45 ลูกบาศก์เมตรต่อตัน พื้นที่ศึกษาบ้านแม่ฮ่องไคร้ แปลงศึกษาปลูกข้าวแบบข้าวนาดำแบบเปียกสลับแห้ง (MK – AWD) มีค่ารอยเท้ารวมน้อยกว่าแปลงศึกษาข้าวนาดำทั่วไป (MK – CL) ทั้งสองฤดูกาล (ในฤดู: 1,164.06 และ 1,417.53±72.89 ลูกบาศก์-เมตรต่อตันตามลำดับ; นอกฤดู: 2,230.18 และ 2,376.25±280.76 ลูกบาศก์เมตรต่อตัน ตามลำดับ) และพื้นที่ศึกษาบ้านแม่ละอุป แปลงศึกษาข้าวไร่ (MU – UL) มีค่ารอยเท้าน้ำน้อยกว่าแปลงศึกษาปลูกข้าวแบบข้าวนาดำแบบเปียกสลับแห้ง (MU – AWD) (1,588.73±313.87 และ 3,021.45±975.14 ลูกบาศก์เมตรต่อตัน ตามลำดับ) โดยการประเมินน้ำต้นทุนและการประเมินค่ารอยเท้าน้ำเป็นเครื่องมือหนึ่งที่สามารถสะท้อนความแตกต่างกันของวิธีการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม เช่น สภาพภูมิอากาศ ปริมาณน้ำฝน ปริมาณผลผลิต และการใช้ปุ๋ยเคมี เป็นต้นen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610531105 ลลิตา ประชานิยม.pdf6.33 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.