Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78364
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุกรี เกษรเกศรา-
dc.contributor.authorอัครภณ หาจัตุรัสen_US
dc.date.accessioned2023-07-07T09:37:40Z-
dc.date.available2023-07-07T09:37:40Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78364-
dc.description.abstractThe Cycle of Forging wants to present reality in society. about inequality in human dignity Through bringing a career as a ruler to measure the height and height of an individual that in one aspect the person is not equal By analyzing the causes starting with origins that are different according to status. And there are obligations that are assigned according to the social system. work experience and finding more information as well as news received at present making inequality in humanity. It is the driving force in the creation of works of art. Presented through mixed media sculptures and animation media with sounds showing shapes, human form are not full The order of the height of each piece is clearly not the same. Along with bringing the symbols of each profession to be assembled in mixed media sculptures through shortening and more work in order to make the work more interesting to the audience Finally, audience are expected to recognize the reality of society. Another facet of unequal humanity and aware of the problems that arise In order to jointly create a society where human beings are equal.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleวัฏจักรแห่งการอุปโลกน์en_US
dc.title.alternativeThe Cycle of forgingen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashชนชั้นทางสังคม-
thailis.controlvocab.thashการจัดช่วงชั้นทางสังคม-
thailis.controlvocab.thashความเสมอภาค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัฏจักรแห่งการอุปโลกน์ต้องการนำเสนอความเป็นจริงในสังคม เกี่ยวกับความไม่เท่าเทียมกันในเรื่องของศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ผ่านการนำอาชีพมาเป็นไม้บรรทัดวัดความสูงต่ำของแต่ละบุคคล ว่าในแง่มุมหนึ่งความเป็นคนนั้นไม่เท่ากัน โดยวิเคราะห์สาเหตุเริ่มต้นด้วยการกำเนิดที่มีความแตกต่างกันตามฐานะ และภาระหน้าที่ซึ่งได้รับมอบหมายตามระบบสังคม ผ่านประสบการณ์การทำงาน และการหาข้อมูลเพิ่มเติม ตลอดจนข่าวสารที่ได้รับในปัจจุบันขณะ ทำให้ความไม่เท่าเทียมกันในความเป็นมนุษย์ เป็นแรงผลักดันในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะขึ้นมานาเสนอผ่านประติมากรรมสื่อผสม และสื่อภาพเคลื่อนไหวประกอบเสียง แสดงรูปร่างรูปทรงของมนุษย์ไม่เต็มส่วน โดยลำดับความสูงของแต่ละชิ้นงานไม่เท่ากันให้เห็นเด่นชัด พร้อมด้วยนำสัญลักษณ์ของแต่ละอาชีพมาประกอบในตัวงานประติมากรรมสื่อผสม ผ่านการตัดทอน และเพิ่มเติมตัวงาน เพื่อให้เกิดความน่าสนใจของตัวชิ้นงานมากยิ่งขึ้นต่อผู้ชมท้ายที่สุดคาดหวังต่อผู้ชมงานให้รับรู้ความเป็นจริงของสังคม อีกแง่มุมของความเป็นมนุษย์ที่ไม่เท่าเทียมกัน และตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อให้ร่วมกันสร้างสังคมที่มนุษย์เท่ากันเกิดขึ้นen_US
Appears in Collections:FINEARTS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620331012-อัครภณ หาจัตุรัส.pdf7.72 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.