Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78337
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTippawan Prapamontol-
dc.contributor.advisorAmpica Mangklabruks-
dc.contributor.advisorTawiwan Pantasri-
dc.contributor.advisorSomporn Chantara-
dc.contributor.advisorWarangkana Naksen-
dc.contributor.advisorShoji F. Nakayama-
dc.contributor.authorNeeranuch Suwannarinen_US
dc.date.accessioned2023-07-05T10:43:30Z-
dc.date.available2023-07-05T10:43:30Z-
dc.date.issued2021-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78337-
dc.description.abstractChiang Mai province. The present study evaluated the exposure to organophosphates (OPs) and neonicotinoids (NEOs) among reproductive-age farmworkers and estimated the association between organophosphate metabolites, dialkylphosphates (DAPs), and neonicotinoids and their metabolites (NEO/m) and steroid hormones. In addition, this study was to investigate the association between DAP and NEO/m and haematological parameters among male farmworkers in Fang district, an intensive agricultural area of Chiang Mai province. This study was a cross-sectional study in reproductive-age farmworker couples. Urinary concentrations of DAP, including dimethylalkylphosphates (DMPs) and diethylalkylphosphates (DEPs), were analysed in 288 urine samples collected from 144 farmworker couples using gas chromatography coupled with flame photometric detection (GC-FPD). The results showed that concentrations of DEPs were highly than DMPs. Diethylphosphate, diethylthiophosphate, diethyldithiophosphate were detected for 100, 99 and 79% of analysed samples and their concentrations were 20.7, 23.9 and 9.3 ng/mL, respectively. Urinary concentrations of NEO/m were also measured in 288 samples using liquid chromatography tandem mass spectrometry (LC-MS/MS). NEO/m including N-desmethyl-acetamiprid (N-dm-ACE), imidacloprid (IMI), clothianidin (CLO), thiamethoxam (THX) and IMI-olefin (Of-IMI) were most frequently detected for 99, 99, 96, 95 and 56% of analysed samples and their concentrations were 25.4, 11.3, 17.5, 32.7 and 4.4 ng/mL, respectively. The haematological parameters were measured in 143 male farmworkers using automated haematology analyser. The average haematological parameters of all samples were normal. The mean of haemoglobin was 15.1 g/dL, haematocrit was 46.2%, mean corpuscular volume was 87.4 fL, mean corpuscular haemoglobin was 28.6 pg, mean corpuscular haemoglobin concentration was 32.7 g/dL, red cell distribution width was 12%, red blood cell count was 5.3 x 106/uL, white blood cell count was 6300 cells/uL, neutrophil was 60.4%, lymphocyte was 37.2%, eosinophil was 1.0%, monocyte was 1.1%, and platelet was 229,000 cells/uL. The overall mixed exposure to OP and NEO/m was significantly associated with mean corpuscular haemoglobin concentration (MCHC). CLO showed obviously decreasing association with MCHC among male farmworkers. The steroid hormones were analysed in serum samples of 143 male farmworkers by using LC-MS/MS. The results showed that androstenedione, cortisol, cortisone, dehydrocorticosterone (DHC), dehydroepiandrosterone (DHEA), deoxycorticosterone (DOC) and testosterone ranged from 0.8-140 ng/mL. A significant association between NEO/m and steroid hormones among male farmworkers were found. IMI level was positively associated with testosterone (B = 0.24; 95% CI =0.04,0.43), DHC (B = 0.23; 95% CI = 0.04, 0.42) and DHEA (B = 0.29, 95% CI = 0.12, 0.45) levels. Of-IMI and DHEA (B = 0.22; 95% CI = 0.05, 0.39) levels were positively associated. THX were negatively associated with DHC (B = -0.18; 95% CI = -0.35, -0.003) and DOC (B = -0.15; 95% CI =-0.29,-0.002) levels. CLO (B = 0.26; 95% CI = 0.08,0.45), THX (B = 0.19; 95% CI = 0.01, 0.38) and N-dm-ACE (B = 0.37; 95% CI = 0.20, 0.54) levels were positively associated with the androstenedione level. CLO (B = -0.22; 95% CI = -0.31, - 0.05) and THX (B = -0.19; 95% CI = -0.32, -0.06) levels were negatively associated with the cortisone level.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleExposure to insecticides and impact on steroid hormones in farmworkers in Chiang Mai Provinceen_US
dc.title.alternativeการรับสัมผัสสารฆ่าแมลงและผลกระทบต่อสเตียรอยด์ฮอร์โมนในแรงงานภาคเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshEnvironmental Science-
thailis.controlvocab.lcshInsecticides-
thailis.controlvocab.lcshSteroid hormones-
thailis.controlvocab.lcshFarmers -- Chiang Mai-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ได้ทำการตรวจหาระดับการรับสัมผัสสารฆ่าแมลงกลุ่มออร์แกโนฟอสเฟตและกลุ่ม นีโอนิโคทีนอยด์ในกลุ่มเกษตรกรวัยเจริญพันธุ์และหาความสัมพันธ์ระหว่างระดับสารเมตาบอไลท์ ของสารฆ่าแมลงกลุ่มออร์แกโนฟอสเฟตได้แก่ สารไดแอลศิลฟอสเฟต และสารกลุ่มนีโอนิโคทินอยด์ และเมตาบอไลท์ กับระดับสเตียรอยด์ฮอร์โมน และความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดในกลุ่มเกษตรกรชาย วัยเจริญพันธุ์ในอำเกอฝาง ซึ่งเป็นพื้นที่เกษตรกรรมเข้มข้นแห่งหนึ่งของจังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาเป็นแบบตัดขวางในกลุ่มคู่เกษตรกรวัยจริญพันธุ์ ได้ทำการวิเคราะห์สารไดแอลคิล ฟอสเฟต ซึ่งแบ่งเป็นกลุ่มไดเมทิลฟอสเฟตและกลุ่มไดเอทิลฟอสเฟต ในตัวอย่างปัสสาวะที่เก็บจากคู่ เกษตรกรวัยเจริญพันธุ์ 144 คู่ จำนวน 288 ตัวอย่าง ด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟีเฟลมโฟโตเมทริก ดีเทคชั่น (จีซี-เอฟพีดี) ผลการวิเคราะห์พบสาร ไดแอลคิลฟอสเฟตกลุ่มไดเอทิลฟอสเฟตมากกว่ากลุ่ม ไดเมทิลฟอสเฟต โดยตรวจพบไดเอทิลฟอสเฟต ไดเอทิลไทโอฟอสเฟตและไดเอทิลไดไทโอ ฟอสเฟต จำนวนร้อยละ 100, 99, 79 ของตัวอย่างที่วิเคราะห์ทั้งหมด และมีความเข้มข้นเฉลี่ย 20.7, 23.9 และ 9.3 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ และได้ทำการวิเคราะห์สารกลุ่มนี โอนิโคทีนอยด์และ เมตาบอไลท์ในตัวอย่างปัสสาวะ จำนวน 288 ตัวอย่าง ด้วยเทคนิคลิควิดโครมาโทกราฟีแมสสเปกโตรเมทรี (แอลซี-เอ็มเอส/เอ็มเอส) โดยสารกลุ่มนี โอนิโคทินอยด์ที่ตรวจพบจำนวนมากที่สุด คือ เอ็น- เดสเมทิล-อะเซทามิพริด อิมิดาโคลพริด โคลไทอะนิดีน ไทอะมีทอกแซม และอิมิดาโคลพริด- โอเลฟิน จำนวนร้อยละ 99, 99, 96, 95 และ 56 ของตัวอย่างทั้งหมดที่วิเคราะห์ โดยมีความเข้มข้นเฉลี่ย 25.4, 11.3 17.5, 32.7 และ 4.4 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ ทำการตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดของเกษตรกรชายวัยเจริญพันธุ์ จำนวน 143 ตัวอย่าง ด้วยเครื่องวัดความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแบบอัตโนมัติ ค่าความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดของเกษตรกร ชายวัยเจริญพันธุ์อยู่ในเกณฑ์ปกติ ซึ่งค่าเฉลี่ยฮีโมโกลบิน เท่ากับ 15.1 กรัมต่อเดซิลิตร, ค่าเฉลี่ยฮีมา โทคริต ร้อยละ 46.2 , ค่าเฉลี่ยปริมาตรเม็ดเลือดแดง เท่ากับ 87.4 เฟมโตลิตร, ค่าเฉลี่ยระดับ รีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง เท่ากับ 28.6 พิโคกรัม, ค่าเฉลี่ยความเข้มข้นของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือด แดง เท่ากับ 32.7 กรัมต่อเดซิลิตร, ค่าการกระจายตัวของขนาดเม็ดเลือดแดง ร้อยละ 12.0, จำนวนเม็ด เลือดแดงเฉลี่ย เท่ากับ 5.3 ล้านเซลล์ต่อไมโครลิตร, จำนวนเม็ดเลือดขาวเฉลี่ย เท่ากับ 6300 เซลล์ต่อ ไมโครลิตร, นิวโทรฟิล ร้อยละ 60.4, ลิมโฟไซต์ ร้อยละ 37.2, อีโอซิโนฟิล ร้อยละ 1.0, โมโนไซต์ ร้อยละ 1.1, และจำนวนเกล็ดเลือดเฉลี่ย เท่ากับ 229,000 เซลล์ต่อไมโครลิตร ในการวิเคราะห์หา ความสัมพันธ์ระหว่างกรรับสัมผัสสารฆ่าแมลงกลุ่มออร์แกโนฟอสเฟตและกลุ่มนี โอนิ โคทินอยด์ พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญระหว่างการรับสัมผัสสารฆ่าแมลงทั้งสองกลุ่มกับค่าเฉลี่ยความ เข้มข้นของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง (เอ็มซีเอชซี) และพบว่าโคลไทอะนิดีนแสดงความสัมพันธ์ กับเอ็มซีเอชซีแบบลดลงอย่างเห็นได้ชัดในกลุ่มเกษตรกรชายวัยเจริญพันธุ์ทำการวิเคราะห์ระดับสเตียรอยด์ฮอร์ โมนในตัวอย่างซีรั่มของเกษตรกรชายวัยเจริญพันธุ์ จำนวน 143 ตัวอย่าง ด้วยเทคนิคแอลซี -เอ็มเอส/เอ็มเอส พบว่า มีระดับของฮอร์โมนแอนโดรสตีนได โอน คอร์ติซอล คอร์ติโซน ดีไฮโดรคอร์ติโคสเตอโรน (ดีเอชซี ดีไฮโดรอีพิแอนโดนสเตอโรน (ดี เอชอีเอ) ดีออกซีคอร์ติโคสเตอโรน (ดีโอซี) และเทสโทสเตอโรน ระหว่าง 0.8-140 นาโนกรัมต่อ มิลลิลิตร หาความสัมพันธ์ระหว่างการรับสัมผัสสารฆ่าแมลงกลุ่มออร์แกโนฟอสเฟตและกลุ่มนีโอนิ โคทีนอยค์และสเตียรอยด์ฮอร์ โมนในกลุ่มเกษตรกรชายวัยเจริญพัน ธุ์ พบว่า มีความสัมพันธ์ระหว่าง รับสัมผัสสารฆ่าแมลงกลุ่มนี โอนิโทินอยด์และสเตียรอยด์ฮอร์โมนอย่างมีนัขสำคัญ ซึ่งสารอิมิดาโก ลพริดมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน (เบต้า = 0.24; ช่วงความเชื่อมั่น 95%= 0.04, 0.43) ดีไฮโครคอร์ติโคสเตอโร น (เบต้า = 0.23; ช่วงความเชื่อมั่น 95% = 0.04, 0.42) และดี ไฮโครอีพิแอนโดนสเตอโรน (เบต้า = 0.29; ช่วงความเชื่อมั่น 95% = 0.12, 0.45) สารอิมิดาโคลพริด- โอเลฟินมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับฮอร์ โมนดีไฮโดรอีพิแอน โดนสเตอโร น (เบต้า = 0.22; ช่วงความเชื่อมั่น 95% = 0.05, 0.39) สารไทอะมีทอกแซมมีความสัมพันธ์เชิงลบกับฮอร์ โมนดีไฮโดรคอร์ติโคส เตอโรน (เบต้า = -0.1 8; ช่วงความเชื่อมั่น 95% = -0.3 5, -0.003) ดีออกซีคอร์โคสเตอโรน (เบต้า=. 0.15; ช่วงความเชื่อมั่น 95% = -0.29, -0.002) สาร โคลไทอะนิดีน (เบต้า = 0.26; ช่วงความเชื่อมั่น 95% = 0.08, 0.45) ไทอะมีทอกแซม (เบต้า = 0.19; ช่วงความเชื่อมั่น 95% = 0.01, 0.38) และเอ็น-เดสเมทิล- อะเซทามิพริด (เบต้า = 0.37; ช่วงความเชื่อมั่น 95% = 0.20, 0.54 มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับฮอร์โมน แอน โดรสตีนไดโอน สารโคลไทอะนิดีน (เบต้า = -0.22; ช่วงความเชื่อมั่น 95% = -0.31, -0.05) สาร ไทอะมีทอกแซม (เบต้า = -0.19: ช่วงความเชื่อมั่น 95% = -0.32. -0.06 มีความสัมพันธ์เชิงลบกับ ฮอร์โมนคอร์ติโซนen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580551083 ณีรนุช สุวรรณรินทร์.pdf12.59 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.