Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78332
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKiatsuda Srisuk-
dc.contributor.advisorNampueng Intanate-
dc.contributor.advisorSakda Swathanan-
dc.contributor.authorNuttapong Phonnuaytrakoonen_US
dc.date.accessioned2023-07-05T10:11:49Z-
dc.date.available2023-07-05T10:11:49Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78332-
dc.description.abstractThe purposes of this research are 1) to study the state of participatory learning management model based on the Buddhist integral theory and learning with happiness to enhance elementary students’ emotional quotient, 2) to develop the participatory learning management model based on the Buddhist integral theory and learning with happiness to enhance elementary students’ emotional quotient, and 3) to study the outcomes of using the participatory learning management model based on the Buddhist integral theory and learning with happiness to enhance elementary students’ emotional quotient. The researcher proceeded according to the research and development methodology (R&D) which consists of four steps: 1) research and analysis basic information, 2) development of learning management model, 3) implementation of learning management model and 4) evaluation of the effectiveness of the learning management model. The samples were three Grade 5 teachers, and 105 Grade 5 students of Wat Chaloem Phra Kiat (Piboonbamrung) school under Nonthaburi Primary Educational Service Area Office 1 which were selected with purposive sampling method according to the selection criteria. The research tools were 1) a manual for using the participatory learning management model, 2) a teacher’s potential in learning management evaluation form, 3) an emotional quotient evaluation form for grade 5 students, 4) a happiness in learning evaluation form, and 5) a virtue according to the Buddhist integral theory framework evaluation form. The data were analyzed by calculating the means, standard deviations, and the development score. The research results found that 1. The state of participatory action, learning management based on the Buddhist integral theory, and learning management based on the concept of learning with happiness to enhance elementary students’ emotional quotient where the participatory action of 18 checklists questionnaire had the average percentages from 62.27-87.27, and the condition of learning management based on the Buddhist integral theory to enhance elementary students’ emotional quotient at the overall was at a high level. And so was the condition of learning management based on learning with happiness. 2. The participatory learning management model based on the Buddhist integral theory and learning with happiness to enhance elementary students’ quotient consisted of four components; 1) the principles; 2) the objectives,; 3) the 5-step learning process including (1) creating learning atmosphere with happiness, (2) learning to develop mentality , (3) reflecting thoughts for characteristic developments, (4) developing social skills and (5) evaluating emotions for 360°; and 4) the evaluations. The application of the model's learning process was conditional upon the 3 phases: pre-implementation, implementation, and post-implementation 3. After implementing the model, it was found that the teachers’ potential in learning management were at good level which had development at the highest level (development score X̅ = 93.04). The latest values of students’ EQ from all evaluators; students’ self-evaluation ( X̅ = 2.79), teachers’ evaluation ( X̅ = 2.74), and parents’ evaluation ( X̅ = 2.84); were at high level. The latest vulues of students’ self-evaluations in happiness in learning were at high level ( X̅ = 2.74). And, the latest values of students’ virtue according to the Buddhist integral theory framework evaluation were high level ( X̅ = 4.05)en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleThe Participatory learning management model based on the Buddhist integral theory and learning with happiness to enhance elementary students’ emotional quotienten_US
dc.title.alternativeรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมตามทฤษฎีบูรณาการเชิงพุทธและการเรียนรู้อย่างมีความสุขเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนระดับประถมศึกษาen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashBuddhism -- Study and teaching (Elementary)-
thailis.controlvocab.thashBuddhism -- -- Curricula-
thailis.controlvocab.thashLearning-
thailis.controlvocab.thashEmotional intelligence-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมตามทฤษฎีบูรณาการเชิงพุทธและการเรียนรู้อย่างมีความสุขเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนระดับประถมศึกษา 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมตามทฤษฎีบูรณาการเชิงพุทธและการเรียนรู้อย่างมีความสุขเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนระดับประถมศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมตามทฤษฎีบูรณาการเชิงพุทธและการเรียนรู้อย่างมีความสุขเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนระดับประถมศึกษา ผู้วิจัยดำเนินการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) 4 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน 2) พัฒนารูปแบบ 3) นำรูปแบบการเรียนรู้ไปใช้ และ 4) ประเมินผลการใช้รูปแบบ กลุ่มตัวอย่างเป็นครูและนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดเฉลิมพระเกียรติ (พิบูลบำรุง) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 ประกอบด้วยครู 3 คน และนักเรียนจำนวน 3 ห้องเรียน รวม 105 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ได้มาโดยการคัดเลือกตามเกณ์การเข้าร่วมวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) คู่มือการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ 2) แบบประเมินศักยภาพในการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน 3) แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียน 4) แบบประเมินความสุขในการเรียนรู้ และ 5) แบบประเมินคุณธรรมตามกรอบทฤษฎีบูรณาการเชิงพุทธของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1. สภาพการดำเนินงานแบบมีส่วนร่วม การจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีบูรณาการเชิงพุทธ และการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข เพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของผู้เรียนระดับประถมศึกษา พบว่า การดำเนินงานแบบมีส่วนร่วม 18 ข้อ มีค่าเฉลี่ยตั้งแต่ร้อยละ 62.27-87.27 การจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีบูรณาการเชิงพุทธ และการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข เพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของผู้เรียนระดับประถมศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2. รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมตามทฤษฎีบูรณาการเชิงพุทธและการเรียนรู้อย่างมีความสุขเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนระดับประถมศึกษา ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) กระบวนการจัดการเรียนรู้ มี 5 ขั้นตอน คือ (1) สร้างบรรยากาศการเรียนรู้อย่างมีความสุข (2) เรียนรู้เพื่อพัฒนาจิต (3) สะท้อนคิดเพื่อสร้างคุณลักษณะ (4) เสริมสร้างทักษะทางสังคม และ (5) ประเมินอารมณ์แบบ 360° และ 5) การประเมินผล โดยมีเงื่อนไขการนำกระบวนการเรียนรู้ของรูปแบบไปใช้ 3 ระยะ คือ ก่อน-ระหว่าง-หลังการนำกระบวนการเรียนรู้ไปใช้ 3. หลังการนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้ไปใช้ พบว่า ครูผู้สอนมีศักยภาพการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับดี และมีพัฒนาการอยู่ในระดับสูงมาก (คะแนนพัฒนาการเท่ากับ 93.04) นักเรียนมีผลการประเมินความฉลาดทางอารมณ์ครั้งหลังสุดอยู่ในระดับสูง ทั้งจากการประเมินตน ( X̅ = 2.79) ครูผู้สอนประเมิน ( X̅ = 2.74) และผู้ปกครองประเมิน ( X̅ = 2.84) ผลการประเมินความสุขในการเรียนรู้จากการประเมินตนเองของนักเรียนครั้งหลังสุดอยู่ในระดับมาก ( X̅ = 2.74) และผลการประเมินคุณธรรมตามกรอบทฤษฎีบูรณาการเชิงพุทธของนักเรียนครั้งหลังสุดอยู่ในระดับมาก ( X̅ = 4.05)en_US
Appears in Collections:EDU: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.