Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78321
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุริยะ ทองมุณี-
dc.contributor.authorสุทธิพงศ์ คำดีen_US
dc.date.accessioned2023-07-05T01:11:52Z-
dc.date.available2023-07-05T01:11:52Z-
dc.date.issued2022-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78321-
dc.description.abstractThis thesis is the study and microstructural analysis of fine-grain soil proportions on unconfined compressive strength (qu) of lateritic soil-cement for subbase materials. The unconfined compression tests were carried out following the Department of Highway (DOH) standard. The aim of this research is to explain the development of compressive strength of Lateritic Soil-Cement by SEM (microstructure study), XRF (chemical composition study) and XRD (mineral composition study) techniques and to investigate the effects of fine contents, cement contents and curing periods of 7, 14, and 28 days. series of the fine contents of 0, 20, 30, and 40% of a dry weight and the cement contents of 0, 4, 6 and 8% of a dry soil weight were targeted. It was found that non-stabilize sample with 20% of fine content showedthe maximum qu and dry density. The fine content with more than 20% decreases the qu in all cement contents because the product C-A-S-H compound from hydration products was decreased. The qu of 4% cement content with 20-40% of fine content can be used for the subbase materials. When the cement contents and curing times increase, the qu of cementitious products increase. The relationship between fine content and cement content to the qu at curing periods of 7, 14, and 28 days was presented in the qu prediction equation as suggested in this studyen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์โครงสร้างจุลภาคของสัดส่วนดินเม็ดละเอียดที่มีผลต่อกำลังอัดแกนเดียวของดินลูกรังผสมซีเมนต์สำหรับวัสดุชั้นรองพื้นทางen_US
dc.title.alternativeMicrostructure analysis of fine-grain soil proportions on unconfined compressive strength of lateritic soil-cement for subbase materialsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashดินลูกรัง-
thailis.controlvocab.thashซีเมนต์-
thailis.controlvocab.thashการอัดตัวคายน้ำของดิน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาและวิเคราะห์โครงสร้างจุลภาคของสัดส่วนของดินเม็ดละเอียดต่อการพัฒนากำลังอัดแกนเดียวที่เกิดขึ้นในดินถูกรังที่ถูกปรับปรุงเสถียรภาพด้วยซีเมนต์เพื่อใช้เป็นวัสดุชั้นรองพื้นทางตามมาตรฐานของกรมทางหลวง จุดประสงค์หลักของงานวิจัยคืออธิบายการพัฒนากำลังอัดของดินลูกรังผสมซีเมนต์ จากการวิเคราะห์ตรวจสอบคุณสมบัติทางเคมีโดยวิธี XRF, XRD และ SEM และประเมินอิทธิพลและความสัมพันธ์ของตัวแปร ได้แก่ปริมาณสัดส่วนของดินเม็ดละเอียดในปริมาณร้อยละ 0, 20, 30 และ 40 ของน้ำหนักดินแห้ง ผสมกับซีเมนต์ปริมาณร้อยละ 0,4, 6 และ 8 ของน้ำหนักดินแห้งในแต่ละตัวอย่าง ที่อายุบ่ม 7, 14 และ 28 วัน ผลการศึกษาพบว่า ตัวอย่างที่ไม่ผสมซีเมนต์ที่ปริมาณดินเม็ดละเอียดร้อยละ 20 เป็นสัดส่วนที่ให้ค่ากำลังอัดสูงสุด และมีความหนาแน่นแห้งสูงที่สุด ปริมาณดินเม็ดละเอียดที่มากกว่าร้อยละ 20 ส่งผลให้กำลังอัดมีค่าลดลงทุกปริมาณซีเมนต์ที่ผสม เนื่องจากปริมาณดินเม็ดละเอียดที่เพิ่มขึ้นจะลดการเกิดผลึกและองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์เชื่อมประสาน C-A-S-H ตัวอย่างที่มีปริมาณดินเม็ดละเอียดร้อยละ 20-40 เมื่อผสมปริมาณซีเมนต์ร้อยละ 4 ทำให้มีกำลังอัดผ่านมาตรฐานรองพื้นทางดินซีเมนต์ของกรมทางหลวง ปริมาณซีเมนต์ที่เพิ่มสูงขึ้น เกิดผลึกที่มีองค์ประกอบ Ca, Si. A1 และ O ที่เป็นผลิตภัณฑ์เชื่อมประสาน C-A-S-H มากขึ้น และอายุบ่มที่มากขึ้น ทำให้ผลึกเปลี่ยนรูปร่าง มีความหนาแน่นเพิ่มขึ้น ช่วยปรับปรุงคุณสมบัติการยึดเกาะ และการรับแรงระหว่างดินเม็ดหยาบและดินเม็ดละเอียดเพิ่มมากขึ้น จึงส่งผลให้ค่ากำลังอัดแกนเดียวสูงขึ้น ที่ค่ากำลังแรงอัดที่เท่ากัน ตัวอย่างดินที่มีปริมาณดินเม็ดละเอียดที่เพิ่มสูงขึ้นต้องใช้ปริมาณซีเมนต์ที่สูงขึ้นตาม ซึ่งสามารถหาปริมาณซีเมนต์ที่เหมาะสมได้ตามสมการทำนายกำลังที่เสนอen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600631046 สุทธิพงศ์ คำดี.pdf5.99 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.