Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78245
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอานันท์ สีห์พิทักษ์เกียรติ-
dc.contributor.authorพีรณัฐ พงศ์ภคเธียรen_US
dc.date.accessioned2023-06-30T10:08:51Z-
dc.date.available2023-06-30T10:08:51Z-
dc.date.issued2023-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78245-
dc.description.abstractThis work describes the design of an iterative learning approach to teach about basic concepts in autonomous and control systems for novice engineering students. The Learning Continuum approach builds on three theoretical principles: Zone of Proximal Development, Selective Exposure, and Concrete before Abstract. The resulting curriculum unit consists of two iterations of the same lesson. The first focuses more on the underlying concepts using tools that avoid the low-level complexities of typical microcontrollers. The second iteration then uses microcontrollers to explore the learned ideas. We tested this framework with 217 novice engineering students against a control group consisting of 111 students. Results from a range of data collected shows that this approach helps students during the learning process. Instructors also sees benefits of the learning continuum approach and has adopted the curriculum for regular use in their course.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjecteducationen_US
dc.subjectmicrocontrollersen_US
dc.subjectautonomous systemsen_US
dc.subjectiterative learningen_US
dc.titleการเขียนโปรแกรมข้ามระดับแอบสแตรกชันพร้อมกันสำหรับชุดหุ่นยนต์เพื่อการเรียนรู้en_US
dc.title.alternativeSimultaneous programming across abstraction layers for robotics learning toolkiten_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashหุ่นยนต์ -- การเขียนโปรแกรม-
thailis.controlvocab.thashหุ่นยนต์ -- ระบบควบคุม-
thailis.controlvocab.thashไมโครคอนโทรลเลอร์-
thailis.controlvocab.thashวิศวกรรมศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (อุดมศึกษา)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์นี้ได้กล่าวถึงการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ด้วยการทำซ้ำเพื่อสอนเรื่องระบบอัตโนมัติเบื้องต้นและระบบควบคุมสำหรับนักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ กระบวนการนี้ได้นำปรัชญาการออกแบบเป้าหมายการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน ปรัชญาการเลือกเปิดเผยหรือปกปิด และปรัชญาการกลับกระบวนการมาใช้ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยอิงจากผู้เรียนเป็นหลัก ผลที่ได้เป็นหลักสูตรที่ประกอบด้วยรูปแบบการสอนสองครั้งในประเด็นการเรียนรู้เดียวกัน ในการเรียนรู้ครั้งแรกเป้าหมายเป็นการเรียนรู้หลักการแนวคิดที่สำคัญด้วยเครื่องมือที่สามารถเริ่มต้นได้ง่ายเพื่อเลี่ยงความซับซ้อนในเชิงเทคนิคของเครื่องมือสมองกลฝังตัว ในการเรียนรู้ครั้งที่สองถึงใช้งานสมองกลฝังตัวผ่านหลักการแนวคิดที่สำคัญของเนื้อหาอีกครั้งนึง ผู้วิจัยได้ทดสอบกระบวนการกับกลุ่มนักศึกษาวิศวกรรมจำนวน 217 คน กับกลุ่มควบคุมอีกจำนวน 111 คน ผลที่ได้จากการเก็บข้อมูลแสดงให้เห็นถึงกระบวนการที่นำเสนอมีส่วนช่วยผู้เรียนในระหว่างการเรียนรู้ นอกจากนี้กลุ่มผู้สอนยังเห็นประโยชน์ของกระบวนการดังกล่าวen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610631055-พีรณัฐ พงศ์ภคเธียร.pdf23.56 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.