Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78234
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWantana Areeprayolkij-
dc.contributor.authorYingxuan Zhuen_US
dc.date.accessioned2023-06-29T10:40:59Z-
dc.date.available2023-06-29T10:40:59Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78234-
dc.description.abstractBy effectively recording information, both explicit and tacit knowledge improve job productivity. The knowledge map, on the other hand, exposes the captured knowledge in a logical manner, making it easier to absorb and utilize information. In the wake of the global COVID-19 epidemic, IC'Ts are becoming increasingly valuable owing to their potential to assist individuals to communicate with the outside world in order to reduce the pandemic's impact. Among them, the importance of ICT in the field of education is more obvious. Because the population of the school is more mobile, the need for communication is stronger. Recently, one of the hottest themes in research talks has been ICT competence and how to increase it. Although much past research has already shown that ICT competence is crucial in the field of education, most studies have focused on teachers, with less research on ICT competence among staff. The influencing factor model of ICT competence generated from knowledge maps was determined using exploratory factor analysis (EFA) in this study. The knowledge map and the accompanying influencing factor model of ICT competence are established through the literature review process. The aim of this study is to assess the influence of each influencing factor on university staff's ICT competence, as well as the positive or negative relationship between each influencing factor. For this study, Chiang Mai University was chosen as the experimental sample university. The knowledge map and hypothesis setting were used to create the factor model. In this study, the original data was sample opinions from a questionnaire survey, and the partial least squares structural equation model (PLS-SEM) approach was used to analyze the hypothesis's influence factor model. The final result of this study shows that the model of influencing factors assumed by the author is feasible and reasonable, and the influence degree of each influencing factor is obtained. Through a simple student survey, the ranking order of several influencing factors in students' minds is compared with that in staff's minds. According to the ranking order and model of these influencing factors, the corresponding strategies are designed to improve the ICT competence of university staff. The results of this research are not only of great significance to universities but also can be used as a reference to help more academic staff to conduct more in-depth research on the ICT competence of university staff.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleInfluence factors for improving university staff’s ICT competenceen_US
dc.title.alternativeปัจจัยที่มีอิทธิพลสำหรับการพัฒนาความสามารถด้านไอซีทีของบุคคลากรมหาวิทยาลัยen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.lcshInformation technology-
thailis.controlvocab.lcshUniversities and colleges-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractด้วยการบันทึกข้อมูลสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ จากทั้งความรู้แบบชัดแจ้งและความรู้ แบบฝั่งลึกจะช่วยปรับปรุงให้งานมีผลิตภาพ ในทางกลับกัน แผนที่ความรู้จะเปิดเผยความรู้ที่จับ ประเด็นได้ในลักษณะที่เป็นเหตุเป็นผล ทำให้ง่ายต่อการซึมซับและนำข้อมูลเหล่านั้นไปใช้ประโยชน์ จากการระบาดของไวรัสโควิด -19 ทั่วโลก ไอซีที่ยิ่งมีคุณค่าเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากศักยภาพในการ ช่วยเหลือบุคคลในการสื่อสารกับโลกภายนอกเพื่อลดผลกระทบของโรคระบาด ความสำคัญของไอซี ทีในภาคการศึกษายิ่งมีความชัดเจนมากขึ้น เนื่องจากจำนวนประชากรบุคคลในโรงเรียนมีการเคลื่อนที่ มากขึ้น ความจำเป็นในการสื่อสารจึงมีความเข้มข้นตามมาด้วย ในขณะนี้ หัวข้อที่ร้อนแรงที่สุดที่ถูก กล่าวถึงในการวิจัยคือเรื่องความสามารถด้านไอซีทีและวิธีการเพิ่มขีดความสามารถ แม้ว่าการวิจัยที่ ผ่านมาจำนวนมากได้แสดงให้เห็นแล้วว่าความสามารถค้าน ไอซีมีมีความสำคัญในภาคการศึกษา แต่ การศึกษาส่วนใหญ่มุ่งเน้นไปที่ครู โดยพบว่ามีงานวิจัยเกี่ยวกับความสามารถค้านไอซีทีในหมู่ เจ้าหน้าที่จำนวนน้อยกว่า แบบจำลองปัจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถไอซีทีที่เกิดจากแผนที่ความรู้ ในการศึกษานี้ถูกกำหนดขึ้น โดยประยุกค์ใช้การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสำรวจ (Exploratory factor analysis: EFA) แผนที่ความรู้และแบบจำลองปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถด้านไอซีที่ถูกกำหนด ขึ้นผ่านกระบวนการทบทวนวรรณกรรม จุดมุ่งหมายของการศึกษานี้คือ การประเมินอิทธิพลของแต่ละปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ ความสามารถด้านไอซีทีของเจ้าหน้าที่มหาวิทยาลัย ตลอดจนความสัมพันธ์เชิงบวกหรือเชิงลบ ระหว่างแต่ละปัจจัยที่มีอิทธิพล สำหรับการศึกบาครั้งนี้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้รับเลือกให้เป็น มหาวิทยาลัยตัวอย่างกรณีทดสอบเพื่อใช้ประเมินแผนที่ความรู้และการตั้งก่สมมติฐานเพื่อสร้าง แบบจำลองปัจจัย ในการศึกษานี้ ข้อมูลพื้นฐานคือความคิดเห็นจากการสำรวจกลุ่มตัวอย่างด้วยแบบสอบถาม และใช้วิธีการแบบสมการ โครงสร้างกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วน (Partial Least Square- Structure Equations Modeling: PLS-SEM) เพื่อวิเคราะห์แบบจำลองปัจจัยที่มีอิทธิพลจากสมมติฐาน ผลลัพธ์สุดท้ายของการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า แบบจำลองปัจจัยที่มีอิทธิพลซึ่งสันนิษฐานขึ้นโดย ผู้เขียนนั้นเป็นไปได้และสมเหตุสมผล และได้รับระดับความมีอิทธิพลของปัจจัยที่มีอิทธิพลในแต่ละ ปัจจัย จากการสำรวจความคิดเห็นนักเรียนเบื้องต้น ลำดับการจัดอันดับของปัจจัยที่มีอิทธิพลหลาย ประการในมุมมองของนักเรียนถูกนำมาเปรียบเทียบกับลำดับความสำคัญของปัจจัยในความเห็นของ เจ้าหน้าที่ ตามลำดับการจัดอันดับและรูปแบบของปัจจัยที่มีอิทธิพลเหล่านี้ ได้มีการสรุปกลยุทธ์ที่ สอดคล้องกันซึ่งได้รับการออกแบบมาเพื่อปรับปรุงความสามารถค้านไอซีทีของเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัย ผลการวิจัยนี้ไม่เพียงแต่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อมหาวิทยาลัยเท่านั้น แต่ยังสามารถใช้ เป็นข้อมูลอ้างอิงเพื่อช่วยให้เจ้าหน้าที่วิชาการทำการวิจัยในเชิงลึกเกี่ยวกับความสามารถด้านไอซีที ของเจ้าหน้าที่มหาวิทยาลัยได้อีกด้วยen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
632132016 YINGXUAN ZHU.pdf14.44 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.