Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78233
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorRatapol Wudhikarn-
dc.contributor.authorManman Luen_US
dc.date.accessioned2023-06-29T10:31:11Z-
dc.date.available2023-06-29T10:31:11Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78233-
dc.description.abstractPresently, most managers still use financial indicators as the only indicators for performance evaluation, ignoring the intellectual capital (IC) indicators that can effectively support the strategy, and lacking specific measures to manage IC. Nevertheless, the details of the approaches currently used to set IC indicators are sketchy or unclear. The traditional IC management model lacks the ability to check the importance or priority of candidate indicators. The root cause of this situation is that in the original process model of IC, there was no appropriate method to determine the importance weights of Key Success Factors (KSF) and Key Performance Indicator (KPI). From the literature review, there are very limited studies on IC management in the financial shared services industry, especially there are very few studies related to IC elements. In addition, there are no relevant studies applying the Best-Worst Method (BWM) in the field of IC management and measurement To improve the capability and efficiency of IC management in financial shared services companies, the purpose of this research is to propose a new integrated model for developing IC performance indicators to improve the traditional IC process model, and the proposed model will be applied to a financial shared services company. This research aims to 1) To identify the critical problem in terms of intellectual capital management in the financial shared services industry. 2) To develop an integrated model for identifying and selecting intellectual capital performance indicators. 3) To evaluate the advantages and disadvantages of the proposed model. First, a participatory survey is conducted by several experts and the results of the questionnaire are used to identify multiple KSFs and KPIs related to the IC strategy of the target company. Second, the research focuses on the construction of an IC measurement system and the methodology of this research combines the IC Process Model, Skandia Navigator, and Best-Worst Method to calculate the weights of IC indicators. Finally, the proposed model is evaluated using the After-Action Review method. The results of the research indicate that IC is a key driver for the development of competitive advantage in financial shared services companies, and that establishing an accurate and effective IC measurement indicator system is a prerequisite and foundation for IC management. The proposed model contributes to the identification of important IC indicators in IC management for organizations, and these prioritized IC indicators facilitate managers to focus on the key components of IC management and better allocate the limited resources within the organization to enhance organizational performance.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleUsing best-worst method to improve intellectual capital management model: a case study of the financial service companyen_US
dc.title.alternativeการประยุกต์ใช้วิธีการที่ดีที่สุดและแย่ที่สุดเพื่อปรับปรุงแบบจําลองการจัดการทุนทางปัญญา กรณีศึกษาบริษัท ให้บริการทางการเงินen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.lcshKnowledge management-
thailis.controlvocab.lcshIntellectual capital-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractปัจจุบันผู้บริหารในอุตสาหกรรมการ ให้บริการทางด้านการเงินนั้นยังคงมุ่งเน้นการใช้ตัวชี้วัด ความสำเร็จทางด้านการเงินเป็นหลัก โดยยังคงละเลยการตัวชี้วัดความสำเร็จทางด้านทุนทางปัญญา ถึงแม้ว่าตัวชี้วัดเหล่านี้จะสามารถสนับสนุนการดำเนินการเชิงกลยุทธ์ขององค์กร อย่างไรก็ตามใน อดีตที่ผ่านมาแนวทางหรือวิธีการในการกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จทางด้านทุนทางปัญญานั้นยังคงไม่ ชัดเจน แบบจำลองหรือวิธีการในการจัดการทุนทางปัญญานั้นยังคงขาคความสามารถในการ ตรวจสอบค่าความสำคัญและน้ำหนักความสำคัญของตัวชี้วัดความสำเร็จ สาเหตุของปัญหาเหล่านี้เกิด จาก ณ ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการหรือแบบจำลองใดๆที่มีแนวทางการระบุหรือกำหนดค่าน้ำหนัก ความสำคัญของปัจจัยความสำเร็จที่มีความสำคัญและตัวชี้วัดความสำเร็จที่มีความสำคัญ จากการทบทวนวรรณกรรมในอดีตพบว่างานวิจัยทางด้านการจัดการทุนทางปัญญาใน อุตสาหกรรมการให้บริการทางด้านการเงินนั้นยังคงมีอยู่อย่างจำกัด อีกทั้งยังไม่มีงานวิจัยในอดีต ที่มี การประยุกต์ใช้วิธีการตัดสินใจแบบหลากหลายหลักเกณฑ์ที่ไม่มีความสลับซับซ้อนดังเช่น "วิธีการที่ ดีที่สุดและแย่ที่สุด" มาก่อนในอดีต จากข้อจำกัดและ โอกาสในการพัฒนาดังที่กล่าวมาข้างต้น งานวิจัยชิ้นนี้จึงมีวัตุประสงค์ที่จะพัฒนาและปรับปรุงแบบจำลองแบบบูรณาการสำหรับการ พัฒนาตัวชี้วัดความสำเร็จทางด้นทุนทางปัญญา และนำเอาแบบงำลองที่ถูกพัฒนานี้ไปประยุกด์ใช้ กับบริษัทผู้ให้บริการทางการเงินซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่มีข้อจำกัดทางด้านการจัดการทุนทางปัญญา การดำเนินการหลักของงานวิจัยประกอบไปด้วย (๑) การระบุปัจจัยความสำเร็จและตัวชี้วัดความสำเร็จ ทางด้านทุนทางปัญญาที่มีความสำคัญต่อกลยุทธ์ขององค์กร โดยผู้เชี่ยวชาญ (๒) การพัฒนาระบบการ วัดสมรรถนะทางด้านทุนทางปัญญาแบบบูรณาการสำหรับการระบุและคัดเลือกตัวชี้วัดสมรรถนะทางค้านทุนทางปัญญา และ (๓) การประเมินข้อดีและข้อเสียของวิธีการที่ถูกนำเสนอจากการนำไปใช้ งานจริง ขั้นแรกของการคำเนินการวิจัยได้ทำการสอบถามผู้เชี่ยวชาญ โดยผลลัพธ์ของขั้นตอนนี้ได้ถูก นำไปใช้ในการระบุปัจจัยความสำเร็จที่มีความสำคัญและตัวชี้วัดความสำเร็จที่มีความสำคัญของ องค์กรที่ศึกษา ขั้นตอนที่สองของงานวิจัยได้มุ่งเน้นการสร้างระบบการประเมินสมรรถนะทุนทาง ปัญญาตามรูปแบบที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยการบูรณาการแบบจำลองกระบวนการทุนทางปัญญา แนวคิด สแกนเดียนาวิเกเตอร์ และวิธีการที่ดีที่สุดและแย่ที่สุด เพื่อทำการคำนวณค่าน้ำหนักของตัวชี้วัด ความสำเร็จของตัวชี้วัดความสำเร็จทางด้านทุนทางปัญญา และ ในขั้นตอนสุดท้ายวิธีการที่ถูกนำเสนอ นั้นถูกประเมินความเหมาะสมด้วยวิธีการการทบทวนหลังปฏิบัติงาน ผลลัพธ์ที่ได้จากการวิจัยแสดงให้เห็นถึงตัวขับเคลื่อนหลักในการพัฒนาความสามารถทางการ แข่งขันของบริษัทผู้ให้บริการทางด้านการเงิน นอกจากนี้ยังช่วยในการกำหนดระบบการวัดผลทุนทาง ปัญญาซึ่งเป็นพื้นฐานของการจัดการทุนทางปัญญา จากการประยุกต์ใช้วิธีการที่นำเสนอนั้นพบว่า วิธีการสามารถสนับสนุนองค์กรในการกำหนดความสำคัญของตัวชี้วัดความสำเร็จทางด้านทุนทาง ปัญญา ตัวชี้วัดที่ถูกคัดเลือกและจัดลำดับนั้นสามารถช่วยให้ผู้บริหารมุ่งเน้นการจัดการทุนทางปัญญา ผ่านการจัดสรรทรัพยากรที่มีจำกัดขององค์กรไปสู่ตัวชี้วัดความสำเร็จที่มีความสำคัญสูงen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
632132022 MANMAN LU.pdf2.68 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.