Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78229
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorMookda Pattarawarapan-
dc.contributor.advisorWong Phakhodee-
dc.contributor.advisorPatnarin Worajittiphon-
dc.contributor.authorDolnapa Yamanoen_US
dc.date.accessioned2023-06-29T10:02:20Z-
dc.date.available2023-06-29T10:02:20Z-
dc.date.issued2023-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78229-
dc.description.abstractTriphenylphosphine (PPh3) and trichloroisocyanuric acid (TCCA) are two reagents that are commonly used in organic synthesis. When combined, they can form a highly effective and versatile reagent that can be used in a wide range of organic reactions. This combination is particularly useful in the synthesis of various organic compounds such as ketones, aldehydes, and carboxylic acid derivatives. In this work, the applications of this reagent system in the synthesis of azole derivatives, including imidazolones, 2,5-disubstituted 1,3,4-oxadiazoles, 5‑aminosubstituted 2‑methoxy-1,3,4-oxadiazoles, 1,3,4-oxadiazol-2(3H)‑ones and urazoles. In the first study, N-acylcyanamides were synthesized via a convenient ultrasound-assisted one-pot reaction starting from readily available carboxylic acids and sodium cyanamide. TCCA and PPh3 were used to activate the reaction, which converted a range of carboxylic acids into N-acylcyanamides with good to excellent yields in a short time at room temperature without the need for additional base. The method deployed also enables rapid access to substituted imidazolone derivatives through a three-component coupling reaction of carboxylic acid, sodium cyanamide, and L-amino acid methyl esters. In the second study, the synthesis of 2,5-disubstituted 1,3,4-oxadiazoles was developed by using mechanochemical synthesis as an environmentally friendly alternative to traditional solvent-based methods. In the presence of TCCA and PPh3, N-acylbenzotriazoles condense with acylhydrazides leading to oxadiazoles derivatives in good to excellent yields within minutes. This approach eliminates the requirement for strictly anhydrous conditions, external heating, and long reaction times, as well as tedious multistep procedures. In the third part study, TCCA and PPh3 were used as reagents in the cyclization reaction of thiosemicarbazates to prepare 5-aminosubstituted 2-methoxy-1,3,4-oxadiazoles. Upon alkylation, oxadiazoles can be converted into two different classes of azoles, including 1,3,4-oxadiazol-2(3H)‑ones and urazoles, depending on the reaction time and temperature, and the excess of alkyl halides used. This operationally simple protocol provides efficient access to a diverse set of isomeric azoles using minimum synthetic steps and easily accessible oxadiazole key precursors.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectChemistryen_US
dc.titleApplications of trichloroisocyanuric acid and triphenylphosphine in the synthesis of azole derivativesen_US
dc.title.alternativeการใช้กรดไตรคลอโรไอโซไซยานูริกและไตรฟีนิลฟอสฟีนในการสังเคราะห์อนุพันธ์เอโซลen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshTriphenylphosphine-
thailis.controlvocab.lcshTrichloroisocyanuric-
thailis.controlvocab.lcshChemistry, Organic-
thailis.controlvocab.lcshOrganic compounds-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractไตรฟีนิลฟอสฟีน และ กรดไตรคลอโรไอโซไซยานูริก เป็น รีเอเจนต์ที่นิยมใช้ในการสังเคราะห์สารอินทรีย์ เมื่อไตรฟีนิลฟอสฟีน และ กรดไตรคลอโรไอโซไซยานูริกรวมตัวกันจะสามารถก่อตัวเป็นรีเอเจนต์ที่มีประสิทธิภาพสูงและใช้งานได้หลากหลาย สามารถนำไปใช้ในปฏิกิริยาอินทรีย์ได้มากมาย ซึ่งมีประโยชน์อย่างยิ่งในการสังเคราะห์สารประกอบอินทรีย์ต่างๆ เช่น คีโตน อัลดีไฮด์ และอนุพันธ์ของกรดคาร์บอกซิลิก ในงานวิจัยนี้ได้ศึกษาการประยุกต์ใช้รีเอเจนต์ดังกล่าวในการสังเคราะห์อนุพันธ์เอโซล ได้แก่ อิมมิดาโซโลน 1,3,4 ออกซะไดอะโซลที่มีหมู่แทนที่ตำแหน่งที่ 2และ5 2-เมทอกซี-1,3,4 ออกซะไดอะโซลที่มีหมู่อมิโนแทนที่ในตำแหน่งที่ 5 1,3,4 ออกซะไดอะโซล-2 (3เอช)-โอน และ ยูราโซล ในการศึกษาส่วนแรกคือการสังเคราะห์ เอ็น-เอซิลไซยานาไมด์ ผ่านปฏิกิริยาแบบ วัน-พอต ที่ได้รับการพัฒนาภายใต้เทคนิคคลื่นเหนือเสียง โดยการสังเคราะห์จะเริ่มจากการใช้กรดคาร์บอกซิลิกที่หาได้ง่ายกับโซเดียมไซยานาไมด์ โดยการสังเคราะห์ดังกล่าวกรดไตรคลอโรไอโซไซยานูริก และ ไตรฟีนิลฟอสฟีนได้ถูกนำมาใช้ในการกระตุ้นปฏิกิริยา ช่วยเปลี่ยนกรดคาร์บอกซิลิกไปเป็นสารประกอบ เอ็น-เอซิลไซยานาไมด์ ที่ให้ผลตอบแทนที่ดีถึงดีเยี่ยมในเวลาอันสั้น ที่อุณหภูมิห้องโดยไม่จำเป็นต้องใช้เบสเพิ่มในปฏิกิริยา วิธีการนี้ยังสามารถใช้ในการสังเคราะห์อนุพันธ์ของอิมิดาโซโลนได้อย่างรวดเร็วผ่านปฏิกิริยาการรวมตัวของสามส่วนประกอบได้แก่ กรดคาร์บอกซิลิก โซเดียมไซยานาไมด์ และ แอล-อะมิโนแอซิดเมทิลเอสเทอร์ ในการศึกษาส่วนที่สอง การสังเคราะห์สารประกอบ 1,3,4-ออกซะไดอะโซล ที่มีหมู่แทนที่ตำแหน่ง 2 และ5 ได้รับการพัฒนาโดยใช้วิธีการสังเคราะห์แบบกลศาสตร์เคมี ซึ่งเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมแทนวิธีการใช้ตัวทำละลายแบบดั้งเดิม เมื่อมี กรดไตรคลอโรไอโซไซยานูริก และไตรฟีนิลฟอสฟีนในปฏิกิริยา สารประกอบ เอ็น-เบนโซไตรอะโซล จะรวมตัวกับ เอซิลไฮดราไซด์ ซึ่งนำไปสู่การสังเคราะห์อนุพันธ์ของ ออกซะไดอะโซลในระดับดีถึงดีมากภายในเวลาที่รวดเร็ว วิธีการนี้ช่วยลดข้อจำกัดของปฏิกิริยา ในสาวะที่ขาดตัวทำละลาย ลดการให้ความร้อนจากภายนอก ลดเวลาในการทำปฏิกิริยา ตลอดจนลดขั้นตอนในการสังเคราะห์ ในการศึกษาส่วนที่สาม กรดไตรคลอโรไอโซไซยานูริก และไตรฟีนิลฟอสฟีน ถูกใช้เป็นรีเอเจนต์ในปฏิกิริยาการปิดวงของ ไทโอเซมิคาร์บาเซต เพื่อเตรียมสารประกอบ 2-เมทอกซี-1,3,4-ออกซะไดอะโซลที่มีหมู่อะมิโนแทนที่ในตำแหน่งที่ 5 และเมื่อนำสารประกอบออกซะไดอะโซลดังกล่าวมาทำปฏิกิริยาอัลคิเลชัน จะนำไปสู่การสังเคราะห์สารประกอบเอโซลได้สองประเภท ได้แก่ 1,3,4 ออกซะไดอะโซล-2 (3เอช)-โอน และ ยูราโซล ซึ่งขึ้นอยู่กับเวลา อุณหภูมิ และอัลคิแฮไลด์ที่ใช้ในปริมาณมากเกินพอในการทำปฏิกิริยา โดยวิธีการดังกล่าวสามารถใช้ในการสังเคราะห์ไอโซเมอร์ของเอโซลได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้ขั้นตอนการสังเคราะห์ที่สั้นและสารตั้งต้นออกซะไดอะโซลที่เข้าถึงได้ง่ายen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590551078 - ดลนภา ยะมะโน.pdf9.6 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.