Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78224
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพจนา พิชิตปัจจา-
dc.contributor.authorผกาวรรณ แสนอ่อนen_US
dc.date.accessioned2023-06-29T09:40:57Z-
dc.date.available2023-06-29T09:40:57Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78224-
dc.description.abstractThe study on “Network of Royal Initiative Projects Management to Improve the Quality of People Life in Mae Chaem District Area, Chiang Mai Province” aims to 1) study on form and network of Royal Initiative Project management and 2) to investigate key success factors of the network of Royal Initiative Project management. This is the qualitative research that 15 informants were interviewed including 2 people from Agricultural Development Unit, 1 person from Resource Development Unit, 3 people from Resource Development Unit, 2 people from Career Development Unit, 2 people from Transportation Development and Communication Unit, 3 people from Welfare Development and Education Unit and 2 people from Public Health Unit. The findings reveal that there are three forms and networks of Royal Initiative Project management to improve the quality of people's life in Mae Chaem district area, Chiang Mai province. 1) the area-based networking 2) the issue-based networking and 3) the structure-based networking. The relationship of networks of Royal Initiative Projects Management includes both vertical and horizontal relations. The Office of the Royal Development Projects Board (ORDPB) is one example of vertical relation that which all operations are centralized. For the horizontal relation, the local networking units will work on their responsibilities. Besides, there are three key success factors of Royal Initiative Projects Management which are 1) follow-up system, 2) personal relationship of staff, and 3) area familiarization.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleเครือข่ายการจัดการโครงการอันเนื่องมาจากรพระราชดำริเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeNetwork of Royal Initiative Projects Management to improve the quality of people life in Mae Chaem District Area, Chiang Mai provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashคุณภาพชีวิต - - แม่แจ่ม (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเรื่องเครือข่ายการจัดการโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่อำภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบและการจัดการของเครือข่ายการทำงานในการดำเนินงานของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 2) หาปัจจัยความสำเร็จในการดำเนินโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพทำการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ประกอบด้วยประชากรและผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 15 คน จากผู้แทนของหน่วยงานที่ปฏิบัติงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริในพื้นที่อำเภอแม่แจ่ม ดังนี้ การพัฒนาด้านการเกษตร จำนวน 2 คน การพัฒนาด้านแหล่งน้ำ จำนวน 1 คน การพัฒนาด้านทรัพยากร จำนวน 3 คน การพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ จำนวน 2 คน การพัฒนา ด้านคมนาคม/การสื่อสาร จำนวน 2 คน การพัฒนาด้านสวัสดิการ/การศึกษา จำนวน 3 คน และการพัฒนาด้านสาธารณสุข จำนวน 2 คน จากการศึกษาพบว่า รูปแบบและการจัดการของเครือข่ายการทำงานในการดำเนินงานของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ มี 3 รูปแบบ ได้แก่ 1) เครือข่ายการดำเนินงาน โดยยืดพื้นที่เป็นหลักหรือเครือข่ายเชิงพื้นที่ 2) เครือข่ายการดำเนินงาน โดยยึดงาน/กิจกรรมเป็นหลัก หรือเครือข่ายเชิงประเด็น 3) เครือข่ายการดำเนินงาน โดยยึดเป้าหมายและวัตถุประสงค์การดำเนินงานเป็นหลัก หรือเครือข่ายแบ่งตามโครงสร้างหน้าที่ความสัมพันธ์ของเครือข่ายการทำงานในการดำเนินงานของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ มีทั้งความสัมพันธ์ในแนวดิ่งและแนวราบ กล่าวคือ ความสัมพันธ์ในแนวดิ่งมีการรวมศูนย์โดยมีสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.) เป็นหน่วยงานหลักในการประสานงาน ซึ่งบริหารงานในรูปแบบคณะกรรมการและประสานงานไปยังหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบ โดยการดำเนินงานของหน่วยงานที่รับผิดชอบในพื้นที่เป็นความสัมพันธ์ในแนวราบ ที่มีการประสานงานกันระหว่างเจ้าหน้าที่ของแต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานสำหรับปัจจัยที่ทำให้การดำเนินโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริประสบผลสำเร็จนั้น มีทั้งหมด 3 ปัจจัย ได้แก่ 1) การติดตามและประสานการทำงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2) ความสัมพันธ์ส่วนบุคคล และ 3) ความคุ้นเคยและการติดต่อสื่อสารกับพื้นที่en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631932035 ผกาวรรณ แสนอ่อน.pdf2.46 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.