Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78218
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนม กุณาวงค์-
dc.contributor.authorพิชญ์พงศ์ วงษ์สุวรรณen_US
dc.date.accessioned2023-06-29T01:28:02Z-
dc.date.available2023-06-29T01:28:02Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78218-
dc.description.abstractDoi Tao district, Chiang Mai Province is one of the top-ranked districts that has severe wildfire and haze pollution. According to hotspots comparison data collected by Suomi (VIIRS) satellite shown hotspots in each province in Chiang Mai in 2563 B.C. (1 January - 31 May) and hotspots comparison in the same period of time in 2563 -2564 B.C. (1 January -21 March), which found 802 hotspots and significantly decreased in 2564 B.C. that found only 553 hotspots (269 lower or 33.54 percent lower from last year) (Chiang Mai provincial prevention and control center for small dust pm 2.5 commanding center, 2564). Due to the historical failure lesson and paradigm shift for new systematic solution to transform problem-solving solution that emphasize on single command and law enforcement, as seeing on Chiang Mai provincial announcement for setting a prohibited burning period in the open air in Chiang Mai province and announcement for strictly closing the forest to prohibited utilization of forest resources to prevent forest burning. Therefore, the collaborative government is focuses more on listen to the problems, obstacles, advises and stakeholder’s cooperation. In addition, design a guideline for new systematic solution that suitable for each area, such as preparing a fuel management plans in village and community level and give a management opportunity which abide by academic knowledge and based on context in each area, using a FireD application which designed and developed by network partners, for instance Chiang Mai University, Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation, National Research Office (NRCT), Ministry of Natural Resources and Environment, Department of Disaster Prevention and Mitigation (DDPM) and Chiang Mai Provincial Administrative Organization and driving the prevention and solution plan for haze pollution, wildfire, and small dust pm 2.5 in area based. These problems solving method are drawing participation from local level to stipulate area-based method that appropriate for each context. Consequently, this method is successful and efficient, also collective acceptance which leading to active collaboration in every sector to drive a problem-solving solution in the same direction.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการปกครองแบบร่วมคิดร่วมทำในการแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันในพื้นที่อำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeThe Collaborative governance in solving forest fire and haze in Doi Tao District, Chiang Mai provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashไฟป่า -- ดอยเต่า (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashหมอกควัน -- ดอยเต่า (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashไฟป่า – การป้องกันและควบคุม - - ดอยเต่า (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashหมอกควัน -- การป้องกันและควบคุม - - ดอยเต่า (เชียงใหม่)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractอำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ เป็นอำเภอที่มีสถานการณ์ไฟป่าและหมอกควันรุนแรงในลำดับต้น ๆ ของจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งจากข้อมูลแผนภูมิเปรียบเทียบจุดความร้อน (Hotspot) จากดาวเทียม Suomi NPP (VIRS) แยกรายอำเภอ จังหวัดเชียงใหม่ สะสมปี 2563 (1 มกราคม - 31 พฤษภาคม) และเปรียบเทียบ 2563 - 2564 (วันที่ 1 มกราคม - 21 มีนาคม) อำเภอดอยเต่า พบจุดความร้อน (Hotspot) จำนวน 802 จุด และลดลงอย่างมึนัยยะสำคัญในปี 2564 เหลือ 533 จุด ลดลง269 จุด คิดเป็นร้อยละ 33.54 (ศูนย์บัญชาการป้องกันแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก pm2.5 จังหวัดเชียงใหม่, 2564) เนื่องจากมีการถอดบทเรียนความล้มเหลวในอดีตและปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (Paradigm) ในการแก้ไขปัญหาใหม่อย่างเป็นระบบ เปลี่ยนผ่านการแก้ไขปัญหาที่เน้นการสั่งการแบบรวมศูนย์เบ็ดเสร็จเด็ดขาด (Single Command) และการบังคับใช้กฎหมาย (Law Enforcement) ดังจะเห็นได้จากการออกประกาศจังหวัดเชียงใหม่ เรื่อง กำหนดช่วงเวลาห้ามเผาในที่โล่งทุกชนิดอย่างเด็ดขาดในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ และการออกประกาศปิดป่าอย่างเด็ดขาดเพื่อห้ามมิให้ผู้ใดเข้าไปเก็บหาประโยชน์จากป่าเพื่อป้องกันการลักลอบเผามาเน้นการจัดการปกครองแบบร่วมคิดร่วมทำ (Collaborative Governance) ในการแก้ไขปัญหาไฟป่า และหมอกควัน รับฟังปัญหาอุปสรรค คำแนะนำ และบูรณาการความร่วมมือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาทุกกลุ่ม ออกแบบเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหารูปแบบใหม่ที่เน้นความเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ เช่น การจัดทำแผนบริหารจัดการเชื้อเพลิงในระดับหมู่บ้าน/ชุมชน ซึ่งเปิดโอกาสให้หมู่บ้านชุมชนสามารถบริหารจัดการเชื้อเพลิงตามหลักวิชาการได้ตามความจำเป็นของแต่ละพื้นที่ การใช้งานระบบสนับสนุนการตัดสินใจการบริหารจัดการเชื้อเพลิงชีวมวล (FireD) ซึ่งออกแบบและพัฒนาโดยหน่วยงานภาคีเครือข่ายหลาย ๆ เครือข่าย เช่น มหาวิทยาลัเชียงใหม่, กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม, สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.), กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) และองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ และการวางแผนขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหาหมอกควันไฟป่า และฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) ในระดับพื้นที่ (Area Base) เป็นต้น วิธีการแก้ไขปัญหาโดยดึงการมีส่วนร่วมของกลไกในระดับพื้นที่มาร่วมกำหนดวิธีการแก้ไขปัญหาซึ่งมีรูปแบบเฉพาะเหมาะสมตามบริบทพื้นที่ (Context) ทำให้การแก้ไขเกิดผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพ เกิดการยอมรับร่วมกันในวิธีการแก้ไขปัญหา ทำให้ทุกภาคส่วนพร้อมใจขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631932006 พิชญ์พงศ์ วงษ์สุวรรณ.pdf3.43 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.