Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78201
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorJuggapong Natwichai-
dc.contributor.authorKittayaporn Chantaranimien_US
dc.date.accessioned2023-06-28T09:54:48Z-
dc.date.available2023-06-28T09:54:48Z-
dc.date.issued2022-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78201-
dc.description.abstractCurrently, many universities concern with developing into a world-class university and reaching a favorable academic ranking. Since a higher rank could influence important stakeholders such as learners or policy makers. To self-evaluate the ranking performance could be difficult and costly due to the components of the ranking score are not from bibliometrics or research output only, but the survey results which could require enormous effort to collect. Therefore, in this work, we introduce a novel approach to estimate the university ranking based on traditional data, i.e., research output, and the non-traditional data, i.e., number of mentioned counts in social network collected by Altmetrics, and the research performance based on United Nations (UN) Sustainable Development Goals (SDGs). Our approach focuses on estimating the subject areas- ranking in five areas, namely Arts & Humanities, Engineering & Technology, Life Sciences & Medicine, Natural Sciences, and Social Sciences & Management. Once the "score" for each university from the mentioned data has been computed, the outputs are compared to the 2021 QS subject ranking as a benchmark using the Spearman rank-order correlation coefficient as well as the supplementary measurement, the ranking overlapping rate. From the experiment results, our approach, particularly the top-10 ranking in every area performed estimating effectively according to the Spearman coefficient, e.g., Accounting & Finance, Development Studies subjects. For the overlapping rate, it was determined that the experimental results are moderate values for most subjects. Thus, it means that this approach could assist stakeholders in estimating the university's position when comparing universities with similar potential without the surveying.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleAnalysis of institutional competitiveness in research using big-variety dataen_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันของสถาบันด้านงานวิจัยโดยใช้ข้อมูลที่มีความหลากหลายสูงen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshData mining-
thailis.controlvocab.lcshResearch-
thailis.controlvocab.lcshUniversities and colleges-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractปัจจุบันมหาวิทยาลัยหลายแห่งให้ความสำคัญกับการพัฒนาสู่หาวิทยาลัยระดับโลกและการได้รับ การจัดอันดับวิชาการที่ดี เนื่องจากการได้อันดับที่สูงขึ้นอาจส่งผลต่อการตัดสินใจของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียที่สำคัญ เช่น ผู้เรียนหรือผู้กำหนดนโยบาย ทั้งนี้ในการประเมินอันดับของมหาวิทยาลัยด้วย ตนเอง อาจเป็นเรื่องยากและมีค่าใช้จ่ายสูง เนื่องจากองค์ประกอบของคะแนนการจัดอันดับไม่ได้ มาจากบรรณมิติหรือผลงานวิจัยเท่านั้น แต่เป็นผลการสำรวจที่อาจต้องใช้ความพยายามอย่างมาก ในการรวบรวม ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยจะนำเสนอแนวทางใหม่ในการประเมินอันดับ มหาวิทยาลัยตามข้อมูลดั้งเดิม เช่น ข้อมูลผลงานวิจัย และข้อมูลที่ไม่ใช่แบบดั้งเคิม กล่าวคือ จำนวน การถูกกล่าวถึงในโซเชียลเน็ตวิร์กที่รวบรวมโดย AImetrics และรวมไปถึงความสัมพันธ์ของผลงาน วิชาการกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals) ทั้งนี้ แนวทางของผู้วิจัยมุ่งเน้นไปที่การประเมินและจัดอันดับมหาวิทยาลัยตามกลุ่มสาขาวิชา จำนวน 5 กลุ่มสาขาวิชา ได้แก่ ศิลปะศาสตร์และมนุษยศาสตร์ (Arts & Humanities) วิศวกรรมศาสตร์และ เทคโนโลยี (Engineering & Technology) ชีววิทยาศาสตร์และแพทยศาสตร์ (Life Sciences & Medicine) วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Sciences) และสังคมศาสตร์และการจัดการ (Social Sciences & Management ) โดยเมื่อคำนวณ "คะแนน" ของแต่ละมหาวิทยาลัยจากข้อมูลที่กล่าวถึงแล้ว ผลลัพธ์จะถูกนำไปประเมินประสิทธิภาพโดยเปรียบเทียบกับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยตามสาขาวิชา ของ QS (2021 QS subject ranking) ที่ถูกใช้เป็นเกณฑ์มาตรฐาน โดยใช้เครื่องมือการประเมิน ดังนี้ 1.) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อันดับของสเปียร์แมน (Spearman rank-order correlation coefficient) 2) การประเมินผลเสริม โดยใช้อัตราการทับซ้อนกันของการจัดอันดับ (ranking overlapping rate) ผล การศึกษาพบว่าแนวทางที่ผู้วิจัชนำเสนอ โดยเฉพาะการจัดอันดับมหาวิทยาลัยใน 10 อันดับแรกในทุก สาขาวิชา มีประสิทธิภาพโดยวัดจากค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อันดับของสเปียร์แมน เช่น สาขาวิชา บัญชีและการเงิน (Accounting & Finance) สาขาวิชาพัฒนศึกษา (Development Studies) สำหรับอัตรา การทับซ้อนกัน พบว่าผลการทคลองมีค่าปานกลางในสาขาวิชาส่วนใหญ่ ซึ่งหมายความว่าแนวทางที่ นำเสนอสามารถสนับสนุนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการคาดการณ์อันดับของมหาวิทยาลัยเมื่อ เปรียบเทียบมหาวิทยาลัยที่มีศักยภาพใกล้เคียงกันโดยไม่ต้องใช้องค์ประกอบคะแนนจากการสำรวจen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620631114 กฤตยพร จันทรนิมิ.pdf996.45 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.