Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78199
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChalermpon Kongjit-
dc.contributor.authorYanbo Huangen_US
dc.date.accessioned2023-06-28T09:43:09Z-
dc.date.available2023-06-28T09:43:09Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78199-
dc.description.abstractThailand has been a popular destination country where Chinese people travel, study, and buy property in recent years. There are more and more Chinese people coming to Thailand for tourism, education, business and even retirement purposes. If Chinese people want to live in Thailand for a long time, a suitable long-term visa is required, but applying for a suitable visa is not a simple task for those who intend to stay long (usually more than 15 days). Chinese applicants often face difficulties and often fail when applying for long-term visas of Thailand. The purpose of this paper is to provide the right knowledge about the visa application process for Chinese applicants through the knowledge platform. First, the status quo of Chinese people applying for long-term Thailand visas is studied; second, the root causes that affect Chinese people applying for visas are identified; then through the theory of knowledge engineering, the knowledge of visa experts is extracted and stored in a useful form for future access. According to the statistics report of the Thai immigration bureau, 4 types of long-term visas are popular among Chinese people, namely: 60-day tourist visa (TR60days), education visa (NON-ED), business visa (NON-B) and family reunion visa (NON-O). The target population of this paper is the Chinese people who apply for these four types of long-term visas. In this paper, relevant information is collected through process flow, interviews, questionnaires, and other tools. Then through analysis and research, the current situation of Chinese people applying for these four types of long-term visas is determined, as well as 2 root causes affecting visaen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleKnowledge mapping of Thailand visa application for long-stay Chinese citizenen_US
dc.title.alternativeแผนที่ความรู้การขอวีซ่าประเทศไทยสำหรับผู้พำนักระยะยาวชาวจีนen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.lcshPassports-
thailis.controlvocab.lcshVisas-
thailis.controlvocab.lcshTourists -- Chinese-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยถือเป็นประเทศปลายทางที่ชาวจีนนิยมเดินทางมาท่องเที่ยว ศึกษา และซื้ออสังหาริมทรัพย์ มีชาวจีนเดินทางมายังประเทศไทยเพื่อการท่องเที่ยว ศึกษา ทำธุรกิจ หรือ แม้แต่เพื่อการใช้ชีวิตหลังเกษียฌอายุมากขึ้นเรื่อย ๆ หากคนจีนต้องการพำนักอาศัยอยู่ในประเทศไทย เป็นเวลานาน จำเป็นจะต้องได้รับการตรวจลงตราหนังสือเดินทางระยะยาวที่เหมาะสม แต่ทั้งนี้ การยื่น ขอรับการตรวจลงตราฯ ที่เหมาะสมนั้นมิใช่เรื่องง่ายสำหรับผู้ที่ตั้งใจจะฬนักอาศัยอยู่ระยะยาว (โดยปกติมากกว่า 15 วัน) ผู้สมัครขอรับการตรวจลงตราฯ ชาวจีนมักปจะระสบปัญหาและไม่ประสบ ความสำเร็จในยื่นขอรับการตรวจลงตราฯ ระยะยาวของประเทศไทย งานวิจัยนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับขั้นตอนการขอรับการตรวจลงตราฯ สำหรับชาวจีนผ่านแพลตฟอร์มความรู้ โดยมีวัดถุประสงค์เพื่อศึกยาสถานการณ์ปัจจุบันของคนจีนที่ยื่น ขอรับการตรวจลงตราฯ ระชะขาวของประเทศไทย เพื่อบ่งชี้สาเหตุที่แท้จริง ระบุสาเหตุที่แท้จริงที่ส่งผล กระทบต่อคนจีนที่ยื่นขอรับการตรวจลงตราฯ จากนั้น ความรู้ของผู้เชี่ยวชาญด้นการตรวจลงตราฯ จะ ถูกดึงออกมาผ่านทฤษฎีวิสวกรรมความรู้ และถูกจัดเก็บในรูปแบบที่เป็นประโยชน์สำหรับการเข้าถึงใน อนาคต ตามรายงานสถิติของสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองของประเทศไทย การตรวจลงตราฯ ระยะยาว 4 ประเภทที่เป็นที่นิยมในกลุ่มคนจีน ได้แก่ ประเภทเพื่อการท่องเที่ยว 60 วัน (TR60days) เพื่อการศึกษา ดูงานและฝึกอบรมต่างๆ (NON-ED) เพื่อการติดต่อหรือประกอบธุรกิจและการทำงาน (NON-B) และเพื่อ เยี่ยมญาติ (NON-O) ประชากรเป้าหมาขของงานวิจัชนี้คือ ชาวจีนที่ยื่นขอรับการตรวจลงตราฯ ระยะยาว 4 ประเภทขึ้ ในบทความนี้ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องจะถูกเก็บรวบรวมผ่านขั้นตอนกระบวนการ การสัมภาษณ์ แบบสอบถาม และเครื่องมืออื่นๆ สถานการณ์ปัจจุบันของคนจีนที่สมัครขอรับการตรวจลงตราฯ ระยะ ยาวทั้ง 4 ประเภทนี้ จะถูกกำหนดจากการวิคราะห์และวิจัย เช่นเดียวกับสาเหตุหลัก 2 ประการที่ส่งผลต่อ การยื่นขอรับการตรวจลงตราฯ และความรู้ที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้อง ท้ายที่สุด จึงได้ออกแบบ แพลตฟอร์มความรู้เพื่อเป็นแนวทางในกระบวนการสมัครขอรับการตรวจลงตราหนังสือเดินทางen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
612132012 YANBO HUANG.pdf5.23 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.