Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78191
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรพงศ์ ตระการศิรินนท์-
dc.contributor.authorเมธิวัจน์ นนทธรรมen_US
dc.date.accessioned2023-06-28T00:33:24Z-
dc.date.available2023-06-28T00:33:24Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78191-
dc.description.abstractThe purpose of this research were to study the leadership style associated with job satisfaction of Chiang Mai Provincial Administrative Organization personnel and to study the level of work satisfaction of Chiang Mai Provincial Administrative Organization personnel. This research a quantitative method was used to collect two-way data, namely opinions of 224 Chiang Mai Provincial Administrative Organization personnel and from the interpretation of the self-test to assess leadership from 4 Chiang Mai Provincial Administrative Organization leaders. The research tools were questionnaires. Statistics used for analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson Product Moment Coefficient. The study found that Most of the Chiang Mai Provincial Administrative Organization personnel had the opinion that the Chiang Mai Provincial Administrative Organization leaders had the most team leadership. Followed by moderate leadership, people-oriented leader, task-oriented leader and a relaxed leader, respectively. 2) The results of the analysis of The Blake and Mouton Managerial Grid Leadership Self-Assessment Questionnaire found that all 4 executives of the Chiang Mai Provincial Administrative Organization had the characteristics of team leadership. 3) Most of Chiang Mai Provincial Administrative Organization personnel were satisfied with their overall performance at a high level. The highest satisfaction in each aspect was relationship with leaders and colleagues followed by Success and stability in work the nature of the assigned work Remuneration and welfare aspect of acceptance policy and administration and working environment, respectively. 4) Team leadership style, middle line and people-oriented style had moderate positive correlation with job satisfaction of Chiang Mai Provincial Administrative Organization personnel with statistical significance at the 0.05 level and the free-flowing leadership style. There was a low negative relationship with job satisfaction of Chiang Mai Provincial Administrative Organization personnel. Statistically significant at the 0.05 level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleภาวะผู้นำที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeLeadership affecting job satisfaction of Chiang Mai Provincial Administrative Organization staffen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashภาวะผู้นำ-
thailis.controlvocab.thashผู้นำ-
thailis.controlvocab.thashบุคลากร -- ความพอใจในการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบภาวะผู้นำที่สัมพันธ์กับความพึงพอใจในการทำงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ และศึกษาระดับความพึงพอใจในการทำงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณโดยเก็บข้อมูลแบบ 2 ทาง ได้แก่ ความคิดเห็นบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 224 คน และจากการแปรผลแบบทดสอบตนเองเพื่อประเมินภาวะผู้นำจากผู้นำองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่าย (Pearson Product Moment Coefficient) ผลการศึกษาพบว่า บุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าผู้นำองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่มีภาวะผู้นำแบบเป็นทีมมากที่สุด รองลงมาเป็นภาวะผู้นำแบบสายกลาง ผู้นำแบบมุ่งคน ผู้นำแบบมุ่งงาน และผู้นำแบบปล่อยตามสบาย ตามลำดับ 2) ผลการวิเคราะห์แบบทดสอบ The Blake and Mouton Managerial Grid Leadership Self-Assessment Questionnaire พบว่า ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ทั้ง 4 คน มีลักษณะภาวะผู้นำแบบทีมทั้ง 4 คน 3) บุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยความพึงพอใจรายด้านที่มากที่สุดได้แก่ ด้านความสัมพันธ์กับผู้นำและเพื่อนร่วมงาน รองลงมาได้แก่ ด้านความสำเร็จและความมั่นคงในการทำงาน ด้านลักษณะงานที่ได้รับมอบหมาย ด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ด้านนโยบายและการบริหาร และด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน ตามลำดับ 4) รูปแบบภาวะผู้นำแบบเป็นทีม แบบสายกลาง และแบบมุ่งคน มีความสัมพันธ์เชิงบวกระดับปานกลางกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนรูปแบบภาวะผู้นำแบบมุ่งงาน และรูปแบบภาวะผู้นำแบบปล่อยตามสบาย มีความสัมพันธ์เชิงลบในระดับต่ำกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641932038-เมธิวัจน์ นนทธรรม.pdf1.4 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.