Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78133
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTitipun Thongtem-
dc.contributor.advisorSomchai Thongtem-
dc.contributor.advisorChamnan Randorn-
dc.contributor.authorNitjawan Plubphonen_US
dc.date.accessioned2023-06-24T06:14:42Z-
dc.date.available2023-06-24T06:14:42Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78133-
dc.description.abstractImprovement of high–performance photocatalyst has great significance and serious challenge for succeeding in environmental treatment. In this research, Bi2O2CO3, g–C3N4 and g–C3N4/Bi2O2CO3 samples were successfully synthesized by a simple microwave– assisted method. Phase, morphology, elemental oxidation state, surface area and optical properties of the samples were investigated by different techniques. Effect of g–C3N4 content of the composites on the degradation of dyes (methylene blue, rhodamine B and methyl orange) illuminated by visible light was investigated. The g–C3N4/Bi2O2CO3 composites played the role in degrading the dyes better than pure Bi2O2CO3 and g–C3N4 under visible radiation due to the effective separation of charge carriers and enhanced absorption of visible light indicated by photoluminescence. The composites were effective in the photocatalytic reuse and exhibited good stability.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleSynthesis, characterization and photocatalytic efficiency of graphitic carbon nitride and bismuth oxycarbonate heterostructuresen_US
dc.title.alternativeการสังเคราะห์ การหาลักษณะเฉพาะ และประสิทธิภาพการเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงของโครงสร้างวิวิธแบบรอยต่อของกราฟิติกคาร์บอนไนไตรด์และ บิสมัทออกซีคาร์บอเนตen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshGraphitic Carbon Nitride-
thailis.controlvocab.lcshBismuth Oxycarbonate-
thailis.controlvocab.lcshCatalysts-
thailis.controlvocab.lcshCatalysis-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractในปัจจุบันการพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงที่มีประสิทธิภาพสูงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการ นำไปปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น ในงานวิจัยนี้ได้สังเคราะห์บิสมัทออกซีคาร์บอเนต กราฟิติกคาร์บอนไนไตรด์ และวัสดุผสมกราฟิติกคาร์บอนไนไตรด์/บิสมัทออกซีคาร์บอเนตโดยใช้ ไมโครเวฟอย่างง่ายได้สำเร็จ ได้วิเคราะห์สารตัวอย่างที่สังเคราะห์ได้โดยเทคนิคต่างๆ เพื่อศึกษาเฟส สัณฐานวิทยา สถานะออกซิเดชัน พื้นที่ผิวและสมบัติเชิงแสง จากการศึกษาอิทธิพลร้อยละโดย น้ำหนักของกราฟิติกคาร์บอนไนไตรด์ในวัสดุผสมต่อการย่อยสลายสีย้อม (เมทิลีนบลู โรดามีนบี และ เมทิลออเรนจ์) ที่ส่องสว่างด้วยแสงที่มองเห็นได้ พบว่าร้อยละโดยน้ำหนักที่แตกต่างกันของกราฟิติก คาร์บอนไนไตรด์ในวัสดุผสมมีบทบาทสำคัญต่อการเร่งปฏิกิริยาเชิงแสง โดยตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสง ของวัสดุผสมกราฟิติกคาร์บอนในไตรด์/บิสมัทออกซีคาร์บอเนต สามารถย่อยสลายสีย้อมดีกว่า บิสมัทออกซีคาร์บอเนตและกราฟิติกคาร์บอนไนไตรด์บริสุทธิ์ เนื่องจากการแยกของประจุพาหะใน วัสดุผสมและการดูดกลืนแสงที่มองเห็นได้ที่ดีขึ้น ที่ระบุได้จากโฟโตลูมิเนสเซนต์ รวมทั้งสามารถนำ วัสดุผสมดังกล่าวนี้กลับมาใช้ใหม่ได้อย่างมีเสถียรภาพในการใช้งานที่ดีen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600555911 นิจวรรณ พลับผล.pdf7.89 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.