Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78123
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปฐมาวดี จงรักษ์-
dc.contributor.authorรัชนีกร กองเมืองปักen_US
dc.date.accessioned2023-06-23T09:45:24Z-
dc.date.available2023-06-23T09:45:24Z-
dc.date.issued2023-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78123-
dc.description.abstractThe purpose of this research is twofold: first, to evaluate the effectiveness of the PEA Life application, and second, to identify any problems, obstacles, and suggestions for improvement. This quantitative study involved a sample of 347 employees and workers of the Provincial Electricity Authority in Region 1 (Northern Region), Chiang Mai Province, who completed a questionnaire. The results of the study indicated that the PEA Life application was highly rated in terms of efficiency, responsiveness, effectiveness, fairness, perceived ease of use, and sufficiency. Additionally, participants reported high levels of perceived benefits and appropriateness. However, participants also identified some problems and obstacles that could hinder the development and improvement of the PEA Life application. These issues included stability concerns, incomplete listening in various applications, limitations in use in the iOS system, and inconvenient updates. Participants suggested addressing these issues by linking information to various operating systems, ensuring user manuals are concise and easy-to-understand, developing ease of use, and enhancing data privacy protection.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินผลการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภายในองค์กร: กรณีศึกษาแอปพลิเคชัน PEA Life ของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเขต 1 (ภาคเหนือ) จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEvaluation of information technology uses in organization: A Case study of PEA life application of the provincial electricity authority (N.1) Chiang Mai Province staffen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเขต 1 (เชียงใหม่) ภาคเหนือ -- พนักงานและข้าราชการ-
thailis.controlvocab.thashโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่-
thailis.controlvocab.thashเทคโนโลยีสารสนเทศ-
thailis.controlvocab.thashซอฟต์แวร์ -- การพัฒนา-
thailis.controlvocab.thashสารสนเทศ -- นวัตกรรมทางเทคโนโลยี-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อประเมินผลการใช้งานแอปพลิเคชัน PEA Life 2) เพื่อสำรวจปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการใช้งาน งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างพนักงานและลูกจ้างของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคที่ปฏิบัติงานในพื้นที่เขต 1 (ภาคเหนือ) จ.เชียงใหม่ จำนวน 347 คน ผลการศึกษาเบื้องต้นพบว่า 1) ผลการประเมินการใช้งานแอปพลิเคชัน PEA Life โดยรวมอยู่ในระดับมาก ทั้งในด้าน ประสิทธิภาพ, ความสามารถในการตอบสนอง, ประสิทธิผล, ความเป็นธรรม, การรับรู้ความง่ายในการใช้งาน และความพอเพียง ตามลำดับ ส่วนในด้านการรับรู้ประโยชน์และความเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด 2) ปัญหาและอุปสรรคในการใช้งานที่ส่งผลต่อการพัฒนาและปรับปรุงแอปพลิเคชัน PEA Life ส่วนใหญ่เป็นเรื่องของความเสถียรในการใช้งาน รองลงมาเป็นเรื่องของ ความครบถ้วนของฟังชันในการใช้งานต่าง ๆ, ข้อจำกัดในการใช้งานในระบบ iOS, การอัพเดทที่บ่อยครั้ง ทำให้เกิดความไม่สะดวกในการใช้งาน, การเชื่อมโยงข้อมูลกับระบบการทำงานต่าง ๆ, ความเป็นปัจจุบัน, การเพิ่มคู่มือในการใช้งานกรณีที่มีการเพิ่มหรือปรับเปลี่ยนข้อมูล ซึ่งควรมีคู่มือที่กระชับ เข้าใจง่าย, การพัฒนาความง่ายในการใช้งาน และการรักษาข้อมูล/ความเป็นส่วนตัวen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641932039-รัชนีกร กองเมืองปัก.pdf2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.