Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78100
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTinakon Wongpakaran-
dc.contributor.advisorNahathai Wongpakaran-
dc.contributor.advisorDanny Wedding-
dc.contributor.authorHe, Bijingen_US
dc.date.accessioned2023-06-21T11:04:44Z-
dc.date.available2023-06-21T11:04:44Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78100-
dc.description.abstractBackground: Raising children with autism spectrum disorder (ASD) causes tremendous stress for parents that may lead to marital conflict, which, in turn, could affect the quality of caring for their children. Interpersonal relationships are an important factor contributing to the couple's satisfaction. Interpersonal relationships, especially based on interpersonal circumplex between parents, has not been sufficiently investigated among this population. The primary purpose of this study was investigate the relationship between individual interpersonal style and other associated factors and couple satisfaction among parents of children with ASD. The second objective was to investigate the relationship between interpersonal style and couple satisfaction and parental negative mental health outcomes, such as stress, anxiety, and depression. ghts reserved Methods: Seven hundred ninety-four (397 pairs) Chinese parents of children aged 7-14 years with ASD participated in the study. Demographic information and questionnaires were completed about (a) relationships between husbands and wives, and (b) child caretaking. Couple satisfaction, level of autistic behavior, parents' perceived stress, perceived social support, and interpersonal styles or problems were assessed. Interpersonal complementarity was evaluated using Carson's Similarity and Wiggin's models. The Actor Partner Interdependence Model (APIM) estimated by multilevel modeling was used for dyadic analysis. Results: Mean age of mothers and fathers was 36.33 (SD 3.4), and 35.36 (SD3.1), most had earned at least a bachelor's degree (43.2%), were employed (88.4%), and resided in urban areas (68.3%). Mothers were the main caregiver of the children with ASD. Vindictive and cold interpersonal types were the most common, with 80.9% of couples having similar interpersonal styles. More severe ASD was correlated with lower couple satisfaction (r = -.22, p <.01), but not with parental perceived stress (p >.05), anxiety (p >.05), or depression (p >.05). Higher perceived social support was associated with higher couple satisfaction (p <.01) and parental stress (p <.01) but with lower parental perceived anxiety (p <.01) and depression (p <.01). Having greater similar interpersonal complementarity was associated with higher couple satisfaction (r = .15, p <.01) and parental stress (r = .16, p <.01), but with lower parental perceived anxiety (r= -.14, p <.01) and depression (r= -.15, p <.01). Couple satisfaction was moderate to high in both groups (mean 65.81 (SD, 11.5) and 65.40 (SD, 10.9) for husbands and wives respectively, and no significant difference was observed regarding relationship satisfaction between them. In the APIM results, employment, time spent in childcare, severity of autistic symptoms and perceived social support all significantly predicted couple satisfaction (p <.006), but only the participants' own couple satisfaction could be predicted. However, residence area, monthly income and type of marriage did not predict couple satisfaction (p >.006). However, perceived social support tended to have a partner effect from husbands to wives (B = 0.159, p = .058). Interpersonal complementarity did not predict couple satisfaction.Conclusion: Consistent with related studies, the more time spent in childcare and severity of autistic symptoms predicted lower couple satisfaction, whereas higher perceived social support predicted higher couple relationship satisfaction. Despite the fact that most couples exhibited similar interpersonal styles, no evidence was found that this related to the relationship quality. Most couples had relatively long relationships and their level of satisfaction indicated they adjusted well. However, social support deems to be the key factor for both their relationship and parental negative mental health outcomes, and perceived social support tended to have partner effects as well. The effect of interpersonal complementarity on couple satisfaction should be further explored in depth. Other complementary models should be examined. In addition, intervention regarding providing emotional support should be further investigated.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleInterpersonal relationship and its associated factors mong parents of children with Autism Spectrum Disorderen_US
dc.title.alternativeสัมพันธภาพระหว่างบุคคลและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในพ่อแม่ของเด็กที่มีกลุ่มอาการภาวะออทิสซึมen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshAutism spectrum disorders in children-
thailis.controlvocab.lcshSyndromes in children-
thailis.controlvocab.lcshAutism in children-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการเลี้ยงดูบุตรที่มีภาวะออทิสซึมนั้นก่อให้เกิดซึ่งความเครียดอย่างใหญ่หลวงสำหรับ พ่อแม่หลายคู่ซึ่งอาจจะนำไปสู่ปัญหาในชีวิตคู่ ซึ่งในทางกลับกันก็สามารถส่งผลกระทบต่อคุณภาพ ของการดูแลบุตรได้เช่นกัน. สัมพันธภาพระหว่างบุคคลเป็นปัจจัยสำคัญที่มีส่วนในความพึงพอใจ ของคู่สมรส สัมพันธภาพระหว่างบุคคล โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทฤษฎีอินเทอร์ เพอซัลนัลเซอร์คัมเพล็กซ์ (interpersonal circumplex) ระหว่างบิดามารดายังไม่ค่อยมีการศึกษามาก นักในประชากรกลุ่มนี้ วัตถุประสงค์หลักของการศึกษาคือการค้นหาในเบื้องต้นเกี่ยวกับรูปแบบของ สัมพันธภาพของแต่ละคนและปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องจะมีความสัมพันธ์อย่างไรกับความพึงพอใจ ในชีวิตคู่ของผู้ที่เป็นบิดามารดาของบุตรที่เป็นออทิสซึม วัตถุประสงค์รองคือการค้นหา ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบของสัมพันธภาพระหว่างบุคคลกับความพึงพอใจในชีวิตคู่ และ ผลลัพธ์เชิงลบทางสุขภาพจิต ได้แก่ ความเครียด ภาวะวิตกกังวล และภาวะซึมเศร้า ระเบียบวิธีการวิจัย: มีคู่สมรสซึ่งเป็นบิดามารดาของบุตรที่มีภาวะออทิสซึมที่มีอายุระหว่าง 7-14 ขวบจำนวน 397 คู่เข้าร่วมการวิจัยนี้ โดยการกรอกข้อมูลทางประชากร แบบสอบถามเกี่ยวกับ สัมพันธภาพระหว่างสามีกับภรรยา แบบสอบถามเกี่ยวกับการเลี้ยงดูบุตร ความพึงพอใจในชีวิตคู่ ระดับของพฤติกรรมออทิสซึมของบุตร ความรู้สึกเครียดของตนเอง ความรู้สึกได้รับการสนับสนุน จากสังคม และรูปแบบของปัญหาสัมพันธภาพระหว่างบุคคล มีการประเมินการเสริมกันของ รูปแบบสัมพันธภาพระหว่างสามีภรรยาโดยใช้โมเดลของคาร์สัน โมเดลความคล้ายคลึงกัน และ โมเดลของวิกกิ้นส์ มีการใช้การวิเคราะห์ความเป็นคู่ด้วย Actor Partner Interdependence Model โดยวิธี multilevel modeling ผลการศึกษา: อายุเฉลี่ยของมารดาและบิดาคือ 36.33 ปี (ส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน 3.4) และ 35.36 ปี (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.1) ตามลำดับ ส่วนใหญ่เรียนจบปริญญาตรี (ร้อยละ 43.2) ประกอบอาชีพ (ร้อยละ 88.4 และอาศัยอยู่ในเมือง (ร้อยละ 68.3) พบว่ามารดาคือผู้ดูแลหลักสำหรับ บุตรที่มีภาวะออทิสซึม พบว่ารูปแบบสัมพันธภาพส่วนบุคคลแบบ Vindictire และ Cold เป็นสอง ชนิดที่พบมากที่สุด โดยที่ร้อยละ 80.9 เป็นการเสริมกันของรูปแบบสัมพันธภาพระหว่างบุคคลแบบ คล้ำายคลึงกัน ความรุนแรงของภาวะออทิสซึมมีผลเชิงลบกับความพึงพอใจในชีวิตคู่ (ค่า สัมประสิทธิ์ - -22, p <.01) แต่สอดคล้องกับความรู้สึกเครียดของบิดามารดา (p >.05) กับภาวะวิตก กังy (p >.05) และกับภาวะซึมเศร้า (P >.05). ความรู้สึกได้รับการสนับสนุนจากสังคมมีความสัมพันธ์ ทางบวกกับความพึงพอใจในชีวิตกู่ (p <.01) และความรู้สึกเศรียด (p <.01) และมีความสัมพันธ์ทาง ลบกับอาการ ของความวิตกกังวล (p <.01) และอาการ ของภาวะซึมเศร้า (p <.01) การเสริมกันของ สัมพันธภาพระหว่างบุคคลระหว่างสามีภรรยามีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพึงพอใจในชีวิตคู่ (ก่าสัมประสิทธิ์ =.15,p <0)และความรู้สึกเครียด (ค่สัมประสิทธิ์ =.16,p <.01)แต่มี ความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะวิตกกังวล (ค่สัมประสิทธิ์ = - 14, p <.01) และภาวะซึมเศร้า (ค่า สัมประสิทธิ์ = -.15, p <.01) ความพึงพอใจในชีวิตคู่ในกลุ่มที่ศึกยาอยู่ในระดับปานกลางถึงสูง (ค่าเฉลี่ย 65.81 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, 1 1.5) และ 65.40 (ส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน, 10.9) สำหรับ สามีและกรรยาตามลำดับ, และไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่างสามีและกรรยา ผลการ วิเกราะห์ด้วย APIM พบว่า บริเวณที่อาศัช รายได้ต่อเดือน เวลาที่ใช้ในการดูแลลูก ระดับความ รุนแรงของอาการออทิสซึม และ ความรู้สึกได้รับการสนับสนุนทางจิตใจเป็นปัจจัยทำนายความพึง พอใจในชีวิตคู่ แต่เกิดจากผลที่เกิดขึ้น เกิดเฉพาะตัวบุคคลนั้นเท่านั้น (actor) อย่างไรก็ตาม พบว่า ปัจจัยความรู้สึกได้รับกรสนับสนุนทางจิตใจมีแนวโน้มว่าจะเกิดผลจากคู่ครองคือ ผลของสามีการ สนับสนุนของสามี อาจมีผลต่อความพึงพอใจในชีวิตคู่ของภรรยา (B = 0.159, p = .058) การเสริม กันของรูปแบบสัมพันธภาพระหว่างบุคคลไม่พบว่าเป็นตัวทำนายผลความพึงพอใจในชีวิตคู่ สรุปผลการศึกษา: ผลการศึกษาสอดคล้องกับการศึกษาที่ผ่านมา เวลาที่ใช้ในการดูแลเด็กและ ความรุนแรงของอาการออทิสติกเป็นตัวทำนายเชิงลบ ในขณะที่การรับรู้การสนับสนุนทางสังคม เป็นตัวทำนายเชิงบวกสำหรับความพึงพอใจในความสัมพันธ์ของคู่สมรส แม้ว่าคู่สมรสส่วนใหญ่จะ มีรูปแบบความสัมพันธ์ที่คล้ายคลึงกัน แต่ก็ไม่มีหลักฐานว่าสิ่งนี้เกี่ยวข้องกับคุณภาพของ ความสัมพันธ์ คู่สมรสส่วนใหญ่มีความสัมพันธ์ที่ก่อนข้างยาวและดูเหมือน จะปรับตัวได้ดีตามที่ ปรากฏในระดับความพึงพอใจ อย่างไรก็ตาม การสนับสนุนทางสังคมยังคงเป็นปัจจัยสำคัญต่อทั้ง ความสัมพันธ์ของคู่สมรสและผลลัพธ์ค้ำานสุขภาพจิตเชิงลบของคู่สมรส และพบว่าการรับรู้ถึงการ สนับสนุนทางสังคมก็มีแนวโน้มที่จะส่งผลต่อคู่ด้วยเช่นกัน ผลของการเสริมกันระหว่างสัมพันธภาพระหว่างบุคคลต่อความพึงพอใจของคู่สมรสควรได้รับการสำรวจในเชิงลึก ควรมีการ สำรวจโมเดลเสริมอื่นๆด้วย นอกจากนี้ ควรมีการศึกษาการแทรกแซงเกี่ยวกับการให้การสนับสนุน ทางอารมณ์เพิ่มเติมen_US
Appears in Collections:GRAD-Sciences and Technology: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
639935801 BIJING HE.pdf3.64 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.