Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78099
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธเนศวร์ เจริญเมือง-
dc.contributor.authorธนัญพัชท์ จรัญธนวัฒน์en_US
dc.date.accessioned2023-06-21T10:50:48Z-
dc.date.available2023-06-21T10:50:48Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78099-
dc.description.abstractThis research aims to study the correlation between the knowledge and understanding of local governance and the political participation behavior of Chiangmai University students. It can lead to ways to enhance knowledge, understanding and more participation in the future. By using quantitative research methods together with qualitative research methods, A questionnaire about knowledge and understanding of local governance and local political participation was used by 396 people, using descriptive statistics to analyze the data. together with interviews with representatives of 10 Chiang Mai University students, based on the research hypothesis that knowledge and understanding of local government can affect local political participation. The results showed that the sample group and the interviewees had a moderate level of understanding about local government at a high level. But it's just a piece of knowledge that doesn't go into much depth. When considering local political participation, they found that it did not meet the hypothesis. This can show that the knowledge and understanding of local government does not directly affect local political participation. As the sample group and interviewees tended to respond in the same direction, they had little experience of participating in political issues. The information obtained from the interviews revealed that the interviewees believed that local politics was not as important as national politics, and they lacked faith and were not aware of their participation in local politics. Therefore, the universities must provide compulsory courses to raise awareness of the importance of national and local political participation. Another issue is many interviewees were not studied in their homeland. Therefore, it is the barrier to the electoral vote. Students who go to study outside their homeland must move the house registration to be able to vote. This may make greater participation in local politics, including having solutions for those who are far away from polling stations, such as online elections and vote-casting outside the constituency (pre-election), in order to protect those people's rights as well.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปกครอง ส่วนท้องถิ่นกับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของ นักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeThe Correlation between the knowledge and understanding of local governance and political participation behavior of Chiang Mai University Studentsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ -- นักศึกษา-
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่น-
thailis.controlvocab.thashนักศึกษา -- กิจกรรมทางการเมือง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปกครอง ส่วนท้องถิ่นกับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จนสามารถ นำไปสู่แนวทางการเสริมสร้างให้เกิดความรู้ความเข้าใจและเกิดการมีส่วนร่วมที่มากขึ้นในอนาคต ศึกษาค้นคว้าโดยวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ กึ่งวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการใช้แบบสอบถามเกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจในการเมืองการปกครองส่วนท้องถิ่นและการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่น จำนวน 396 คนโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูล ร่วมกับการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 10 คน โดชมีสมมุติฐานการวิจัยที่ว่าความรู้ความเข้าใจในการปกครอง ส่วนท้องถิ่นจะสามารถส่งผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่น ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่าง และผู้ให้สัมภาษณ์มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการปกครองส่วนท้องถิ่นในระดับปานกลางค่อนไปทาง สูง แต่เป็นเพียงความรู้ความเข้าใจที่ไม่ได้ลงลึกมากนัก และเมื่อทำการพิจารณาการมีส่วนร่วมทางการ เมืองท้องถิ่น พบว่าไม่ได้เป็นไปตามสมมุติฐานที่วางไว้ คือ ความรู้ความเข้าใจในด้านการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ไม่ได้ส่งผล โดยตรงต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่น จากการที่กลุ่มตัวอย่างและ ผู้ให้สัมภาษณ์มักจะตอบไปในทิศทางเดียวกันที่ว่าไม่เคยมีประสบการณ์ในการมีส่วนร่วมทางการ เมืองในประเด็นต่างๆ ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ พบว่าโดย ผู้ให้สัมภาษณ์มองว่าการเมืองท้องถิ่น ไม่สำคัญเท่าการเมืองระดับชาติอีกทั้งยังไม่มีความศรัทธาและไม่ตระหนักถึงการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นที่มากนัก จึงมีข้อเสนอแนะที่ว่า มหาวิทยาลัยจะต้องมีหลักสูตรบังคับเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมทางการเมืองไม่ว่าจะระดับชาติหรือระดับท้องถิ่นอีก ทั้งโดยส่วนมาก ผู้ให้สัมภาษณ์ไม่ได้ศึกยาในภูมิลำนา จึงเป็นอุปสรรคในการที่จะมีส่วนร่วมทางการ เมืองที่ง่ายที่สุด ในที่นี้คือการออกเสียงเลือกตั้ง รวมไปถึงมีความห่างเหินกับท้องถิ่นของตน จึงควรมี สนับสนุนให้นักศึกษาที่มาศึกษานอกภูมิลำเนา ย้ายทะเบียนบ้านตามมา เพื่อให้สามารถใช้สิทธิออก เสียงเลือกตั้งได้ ซึ่งอาจช่วยส่งเสริมให้นักศึกษาเกิดความต้องการที่จะมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่น ที่มากขึ้น รวมไปถึงมีช่องทางให้แก่ผู้ที่อยู่ไกลหน่วยเลือกตั้ง ทั้งจากการเลือกตั้งออนไลน์ การเลือกตั้ง ล่วงหน้า หรือจะเป็นการเลือกตั้งนอกเขต เพื่อเป็นการรักษาสิทธิให้บุคคลเหล่านั้นเช่นกันen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631932069 ธนัญพัชท์ จรัญธนวัฒน์.pdf1.7 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.