Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78098
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรุจ ศิริสัญลักษณ์-
dc.contributor.advisorจุฑาทิพย์ เฉลิมผล-
dc.contributor.advisorอภิรัฐ บัณฑิต-
dc.contributor.authorอรณิชาณ์ ปารมีen_US
dc.date.accessioned2023-06-21T09:52:00Z-
dc.date.available2023-06-21T09:52:00Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78098-
dc.description.abstractThe objective of this research was to study (1) basic conditions of training and visiting system operation of agricultural extension officers in upper northern region, (2) factors affecting training and visiting system operation of agricultural extension officers, and (3) problem and suggestions of training and visiting system operation for agricultural extension officers. The sample for this research consists of 156 extension officers. Data is obtained through questionnaires. Descriptive statistics used for data analysis include percentage, mean, maximum, minimum, and standard deviation. Hypotheses are tested using multiple regression analysis. This research shown that the agricultural extension officers in upper northern region, are female, with an average age of 36.6 years, have graduated with a bachelor’s degree and a master’s degree, are single, regional an agricultural extension officer at agricultural extension office district. It was found that an average of 6.12 years with government service, possess an average of 7.87 years agricultural extension experience, an average 6.42 years to spend working agricultural extension officer, with an average of 1-2 sub-district responsible, an average of 13.36 villages responsible, and with an average 1.42 times of training and visiting system. There was an average of 6.52 agricultural extension officers working in the department. They have responsible for the registration of farmers, and have 1,001-1,500 families were supported by the training and visiting system, driven cars on duty to reach the target area. Most of them were supported to work in accordance with the training and visiting system, such as mobile phone charges. Take an average distance of 46.59 kilometers, the average time from agricultural office to target area is 72.44 minutes, spending times more than 4 hours on working with farmers, and providing services to farmers personally by phone. Used social network to communicate and coordinate with farmers such as Line (private) with the purpose of contacting farmers to information. Most of the operating areas were Plain and Hight land, the route condition was paved road. Characteristics of targeted persons in the district where agricultural extension officer work as indigenous people, have flats with electricity in agricultural office, and used the method of self-study to the obtain knowledge of training and visiting system. The overall problems in operation towards of training and visiting system of agricultural extension officers is at a moderate level (x ̅ = 3.24). Factors correlated to training and visiting system that display statistical significance 0.05 (p<0.05) include period of work in the position of agricultural extension officer, the obtain knowledge of training and visiting system, and the problems in operation towards of training and visiting system. In problems and suggestions of agricultural extension officers of the training and visiting system operation found that low support budget which makes it impossible to track in the area. The allocation of budgets to the area is delayed and some projects are inconsistent with the planting period. Agricultural extension officers should regularly train and guide workers to improve the operational efficiency of training and visiting system.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติตามระบบฝึกอบรมและเยี่ยมเยียนของนักวิชาการส่งเสริมการเกษตรในภาคเหนือตอนบนen_US
dc.title.alternativeFactors affecting training and visiting system operation of agricultural extension officer in upper Northern regionen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashนักวิชาการเกษตร -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashนักวิชาการเกษตร -- การฝึกอบรม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพการปฏิบัติงานตามระบบฝึกอบรมและเยี่ยมเยียนของนักวิชาการส่งเสริมการเกษตรในภาคเหนือตอนบน (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานตามระบบฝึกอบรมและเยี่ยมเยียนของนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร และ (3) ปัญหาและให้ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงานตามระบบฝึกอบรมและเยี่ยมเยียนแก่นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา คือ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน จำนวน 156 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน รวมทั้งทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหุ ผลการศึกษาพบว่า นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรในภาคเหนือตอนบน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 36.6 ปี จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ดำรงตำแหน่งนักวิชาการส่งเสริมระดับปฏิบัติการ สังกัดสำนักงานเกษตรอำเภอ โดยพบว่ามีอายุราชการเฉลี่ย 6.12 ปี มีประสบการณ์ด้านการส่งเสริมการเกษตรเฉลี่ย 7.87 ปี ใช้เวลาในการปฏิบัติงานอยู่ในตำแหน่งนักวิชาการส่งเสริมการเกษตรเฉลี่ย 6.42 ปี มีตำบลที่รับผิดชอบเฉลี่ย 1.40 ตำบล และมีหมู่บ้านที่รับผิดชอบเฉลี่ย 13.91 หมู่บ้าน ได้รับการอบรมเกี่ยวกับระบบฝึกอบรมและเยี่ยมเยียนเฉลี่ย 1.42 ครั้ง มีนักวิชาการส่งเสริมการเกษตรที่ปฏิบัติงานอยู่ในสังกัดเฉลี่ย 6.52 ราย และมีหน้าที่รับผิดชอบในส่วนของงานทะเบียนเกษตรกร มีครัวเรือนเกษตรกรที่รับผิดชอบ จำนวน 1,001 – 1,500 ครัวเรือน ใช้รถยนต์ในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อให้ถึงพื้นที่เป้าหมาย ส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนในการทำงานตามระบบฝึกอบรมและเยี่ยมเยียน เช่น ค่าบริการโทรศัพท์มือถือ ใช้ระยะทางเฉลี่ย 46.59 กิโลเมตร และใช้เวลาเฉลี่ย 72.44 นาที เพื่อเดินทางจากสำนักงานเกษตรไปยังพื้นที่เป้าหมายที่รับผิดชอบ ใช้ระยะเวลามากกว่า 4 ชั่วโมงในการปฏิบัติหน้าที่ ให้บริการแก่เกษตรกรโดยโทรศัพท์ด้วยตนเอง ใช้สื่อโซเซียลเน็ตเวิร์กในการติดต่อสื่อสารและประสานงานกับเกษตรกร เช่น Line (ส่วนตัว) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อติดต่อกับเกษตรกรเพื่อแจ้งข้อมูลข่าวสารให้แก่เกษตรกรได้ทราบ พื้นที่ที่ปฏิบัติงานส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบและพื้นที่สูง เส้นทางเป็นถนนลาดยาง บุคคลเป้าหมายที่นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติงานเป็นคนพื้นเมือง ลักษณะที่พักจะเป็นบ้านพักสวัสดิการของกรมส่งเสริมการเกษตร มีไฟฟ้าอำนวยความสะดวกในที่พักอาศัย ใช้วิธีการศึกษาด้วยตนเองในการหาความรู้เรื่องระบบฝึกอบรมและเยี่ยมเยียน และพบว่านักวิชาการส่งเสริมการเกษตรมีปัญหาในการปฏิบัติงานตามระบบฝึกอบรมและเยี่ยมเยียนในภาพรวมมีปัญหาปานกลาง (x ̅ = 3.24) ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยด้านระยะเวลาในการปฏิบัติงานในตำแหน่งนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร วิธีการหาความรู้เรื่องระบบฝึกอบรมและเยี่ยมเยียน และปัญหาในการปฏิบัติงานตามระบบฝึกอบรมและเยี่ยมเยียนของนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร มีผลต่อการปฏิบัติงานตามระบบฝึกอบรมและเยี่ยมเยียนของนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ในด้านปัญหาและข้อเสนอแนะของนักวิชาการส่งเสริมการเกษตรในการปฏิบัติระบบส่งเสริมการเกษตรแบบฝึกอบรมและเยี่ยมเยียน มีปัญหาในเรื่องงบประมาณสนับสนุนน้อย ซึ่งทำให้ไม่สามารถออกติดตามในพื้นที่ได้ การจัดสรรงบประมาณที่ลงมายังพื้นที่ล่าช้าและบางโครงการไม่สอดคล้องกับระยะเวลาในการปลูกพืช นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรมีข้อเสนอแนะว่า ควรมีการฝึกอบรมและนิเทศน์งานผู้ปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอเพื่อที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานตามระบบฝึกอบรมและเยี่ยมเยียนen_US
Appears in Collections:AGRI: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630832015 อรณิชาณ์ ปารมี.pdf11.81 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.