Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78082
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorอังคณา นุผาเลาen_US
dc.date.accessioned2023-06-20T09:57:56Z-
dc.date.available2023-06-20T09:57:56Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78082-
dc.description.abstractThe research entitled "Cooperation Network in Water Management of Lamphun Water Resource Management Operation Center" was regarded as the qualitative study. It aimed to 1) study the cooperation networks and forms between the government agencies and the community networks in moving forward the preparation for an information system of water resource and water management of Lamphun Water Resource Management Operation Center, 2) consider the factors affecting the success of cooperation network in moving forward the preparation for an information system of water resource and water management of Lamphun Water Resource Management Operation Center, 3) analyze the problems and obstacles of cooperation management between the government agencies and the community networks to move forward the development and water management of Lamphun Water Resource Management Operation Center, and 4) explore the benefits and further continuation of an information system of water management to create the plans or projects related to the solutions to water shortage, flood, floodwaters and waste water in Lamphun Province from the past to the present and the future. According to the results of the study, first, the cooperation network in water management of Lamphun Water Resource Management Operation Center was in the form of collaboration whereby the long-term targets were accordingly determined through collaborations in water management and cooperation networks for implementing activities and projects. Second, success factors for cooperation network of Lamphun Water Resource Management Operation Center included regular communications, joint decision-making in every procedure, effective networks, role and decision- making promotion among the members, continuous and effective resource mobilization, ongoing resource mobilization efforts from all sectors and the link between people of the same generation, old and new generations for further continuation. Third, regarding the problems and obstacles in moving forward the preparation for an information system of water management, it was found that 1) in terms of personnel, some of them lacked the ability to manage water resource; 2) in terms of the budget, some network members viewed that the inadequate budgets actually delayed the operation; 3) in terms of the leader role for cooperation, the problem was associated with water resource management by some community leaders; and 4) in terms of intersectoral cooperation, there was still a lack of cooperation from the younger generation.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleเครือข่ายความร่วมมือการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของศูนย์บริหารจัดการน้ำจังหวัดลําพูนen_US
dc.title.alternativeCooperation network in water management of Lamphun Water Resource Management Operation Center, Lamphun Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashศูนย์บริหารจัดการน้ำจังหวัดลำพูน-
thailis.controlvocab.thashการจัดการน้ำ -- ลําพูน-
thailis.controlvocab.thashระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ-
thailis.controlvocab.thashความร่วมมือ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยเรื่อง เครือข่ายความร่วมมือการบริหารทรัพยากรน้ำของศูนย์บริหารจัดการน้ำจังหวัด ลำพูน เป็นการศึกษาวิชัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาเครือข่ายความร่วมมือ และรูปแบบ ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และเครือข่ายชุมชน ในการขับเคลื่อนการจัดทำระบบข้อมูล สารสนเทศด้านทรัพยากรน้ำและการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของศูนย์บริหารจัดการน้ำจังหวัด ลำพูน 2) วิเคราะห์ปัจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ ของเครือข่ายความร่วมมือ ในการขับเคลื่อนการจัดทำ ระบบข้อมูลสารสนเทศด้นทรัพยากรน้ำ การพัฒนาและการบริหาร จัดการทรัพยากรน้ำ ของศูนย์ บริหารจัดการน้ำจังหวัดลำพูน 3) วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค ในการจัดการความร่วมมือระหว่าง หน่วยงานภาครัฐ และเครือข่ายชุมชน ในการขับเคลื่อนการพัฒนาและการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ของศูนย์บริหารจัดการน้ำจังหวัดลำพูน และ 4) ศึกษาการใช้ประโยชน์และพัฒนาต่อยอดระบบข้อมูล สารสนเทศด้านทรัพยากรน้ำเพื่อจัดทำแผนงานหรือโครงการเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาปัญหาการขาด แคลนน้ำ น้ำท่วม น้ำหลากและปัญหาน้ำน่าเสีย ในพื้นที่จังหวัดลำพูน ที่ผ่านมา ถึงปัจจุบัน และอนาคต ผลการศึกษาพบว่า 1. เครือข่ายความร่วมมือการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของศูนย์บริหาร จัดการน้ำจังหวัดลำพูน มีรูปแบบความร่วมมือในระดับความร่วมมือ (Collaboration) โดยเครือข่ายมี การกำหนดเป้าหมายร่วมกันในระยะยาว มีการร วมตัวกันเพื่อดำเนินการแก้ไขปัญหาน้ำ และมี การจัดตั้งเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อจัดทำโครงการ กิจกรรมต่าง ๆ 2. ปัจจัยแห่งความสำเร็จของ เครือข่ายความร่วมมือกรบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของสูนย์บริหารจัดการน้ำจังหวัดลำพูน ได้แก่ การติดต่อสื่อสารมีความสม่ำเสมอ การตัดสินใจร่วมกันของสมาชิกในทุกขั้นตอน มีเครือข่ายที่มี ประสิทธิภาพ มีการส่งเสริมบทบาทและการตัดสินใจของสมาชิก ระดมทรัพยากรอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีการระคมทรัพยากรจากทุกภาคส่วนอย่างต่อเนื่องและมีการเชื่อมต่อคนรุ่นเดียวกัน คนรุ่นเก่ากับคนรุ่นใหม่ เพื่อให้มีการสืบสานการดำเนินงานต่อไป 3. ปัญหาและอุปสรรดในการ ขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศด้านทรัพยากรน้ำและการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำ พบว่า 1) ในด้านบุคลากร เรื่องความรู้ความสามารถของบุคลากร บางส่วนก็ยังคงขาด ความรู้ความสามารถในด้นการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 2) ในด้านงบประมาณ พบว่า สมาชิก เครื่อข่ายฯ ส่วนหนึ่ง ให้ความเห็นว่า งบประมาณยังมีไม่เพียงพอต่อการดำเนินงาน ส่งผลให้ ในการดำเนินการล่าช้า 3) ในด้านบทบาทผู้นำการสร้างความร่วมมือ พบประเด็นปัญหาคือ ความรู้ ด้านการบริหารจัดกรน้ำของผู้นำชุมชนบางคน 4. ในด้านความร่วมมือระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ ที่ ร่วมมือการทำงาน พบปัญหายังขาดความร่วมมือจากเด็กรุ่นใหม่en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631932059 อังคณา นุผาเลา.pdf3.85 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.