Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78074
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา นาคเสน-
dc.contributor.advisorวราภรณ์ บุญเชียง-
dc.contributor.authorธนัญญาณ์ จิรธนเปรมปรีดิ์en_US
dc.date.accessioned2023-06-19T01:24:58Z-
dc.date.available2023-06-19T01:24:58Z-
dc.date.issued2022-09-26-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78074-
dc.description.abstractExposure to dust produced by quarrying activities can be detrimental to the health of people living stone mining area. The purpose of this study were to examine factors that may be related to lung function and to study the predicting factors of lung function among people living in stone mining area in Chiang Mai. The sample consisted of 160 people living sin tone mining area between November and December year 2020 . The instrument used was a questionnaire consisting of 5 parts: demographics, environmental information, knowledge, attitude, dust prevention behavior that had been verified for content validity and reliability. The data was statistically analyzed using descriptive and inferential statistics. The results of the study showed that most of subjects were female (68.1%), which, had aver age at 53.49 years. Most of them were farmers (50.6%) and had primary education (64.4%). The respondents had knowledge at moderate level with an average score of 10.63 points (SD = 1.86 , Min = 1, Max = 13). attitude at high level with an average score of 37.81 (SD = 3.69 , Min = 25, Max = 45). and behavior at low level with an average score of 23.11 points (SD = 4.35 , Min = 11, Max = 30). The study of predicting factors of lung function of people living around the quarry, showed that the distance from home to mining area can predict pulmonary fitness, FVC/ FEV1 of the people living in mining area at 3.50% with statistical significance (P<0.05). Therefore, relevant agencies and organizations including sub-district health promotion hospitals and municipalities should promote behaviors to prevent dust exposure, such as wearing masks for preventing silicosis and supporting dust prevention strategies for households located in mining area. Keywords: predictive factor, lung function, knowledge, attitude, protective behavior, dust, quarryen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectFactorsen_US
dc.subjectปอดen_US
dc.subjectเหมืองหินen_US
dc.subjectปัจจัยทำนายen_US
dc.subjectสมรรถภาพปอดen_US
dc.subjectความรู้en_US
dc.subjectพฤติกรรมการป้องกันen_US
dc.subjectฝุ่นละอองen_US
dc.titleFactors predicting pulmonary function among residents in stone mining area Chiang Mai Provinceen_US
dc.title.alternativeปัจจัยทำนายสมรรถภาพปอดของประชาชนที่อาศัยรอบเหมืองหิน จังหวัดเชียงใหม่en_US
thailis.controlvocab.thashเหมืองและการทำเหมืองถ่านหิน-
thailis.controlvocab.thashเหมืองและการทำเหมืองถ่านหิน – เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashปอด – โรค-
thailis.controlvocab.thashฝุ่น – เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashมลพิษทางอากาศ – เชียงใหม่-
article.epageThesis-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการสัมผัสฝุ่นละอองที่เกิดจากกิจกรรมเหมืองหินอาจทำให้เป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชนที่อาศัยรอบเหมืองหิน การศึกษาครั้งนี้มีวัดถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับสมรรถภาพปอด และเพื่อศึกษาปัจจัยที่ทำนายสมรรถภาพปอดของประชาชนที่อาศัยรอบเหมืองหิน จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนที่อาศัยรอบเหมืองหิน จำนวน 8 หมู่บ้าน ระหว่างเดือนพฤศจิกายน ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ.2563 จำนวน 160 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามประกอบด้วย 5 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม ข้อมูลด้านความรู้ ข้อมูลด้านทัศนคติ ข้อมูลด้านพฤติกรรมการป้องกันฝุ่นละออง ที่ผ่านการตรวจสอบความเที่ยงของเนื้อหาและความเชื่อมั่นแล้ว ทำการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 68.1) โดยมีอายุเฉลี่ย 53.49 ปี ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกร (ร้อยละ 50.6) การศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 64.4 โดยผู้ตอบแบบสอบถามมีความรู้อยู่ในระดับปานกลาง โดยมีคะแนนเฉลี่ย 10.63 คะแนน (SD = 1.86, Min = 1, Max = 13) ทัศนคติเกี่ยวกับการป้องกันฝุ่นละออง อยู่ในระดับสูง โดยมีคะแนนเฉลี่ย 37.81 คะแนน (SD = 3.69 , Min = 25, Max = 45) พฤติกรรมการป้องกันฝุ่นละออง อยู่ในระดับต่ำ โดยมีคะแนนเฉลี่ย 23.1 1 คะแนน (SD = 4.35 , Min = 11, Max = 30) สำหรับการศึกษาปัจจัยที่ทำนายสมรรถภาพปอดของประชาชนที่อาศัยรอบเหมืองหิน ได้แก่ ระยะห่างจากบ้านถึงเหมืองหินสามารถร่วมทำนายสมรรถภาพปอดค่า FVC/FEV ของประชาชนที่อาศัยรอบเหมืองหินได้ร้อยละ 3.50 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ โรงพยาบาลส่งสริมสุขภาพประจำตำบล และเทศบาล ควรให้ความรู้เรื่องโรคปอดฝุ่นหิน และส่งสริมพฤติกรรมในการป้องกันฝุ่นละออง เช่น การสวมหน้ากากอนามัยของประชาชน เพื่อลดโอกาสการเกิดโรคปอดฝุ่นหินในระยะยาว ในประชาชนที่อาศัยรอบเหมืองหิน และควรมีมาตรการป้องกันฝุ่นละอองฟุ้งกระจายเข้าในบ้าน ลดโอกาสในการสัมผัสฝุ่นละอองen_US
thesis.concealPublish (Not conceal)en_US
Appears in Collections:PH: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.