Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78073
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา นาคเสน-
dc.contributor.advisorจักรกฤษณ์ วังราษฎร์-
dc.contributor.authorนพรัตน์ คำใจen_US
dc.date.accessioned2023-06-19T01:20:16Z-
dc.date.available2023-06-19T01:20:16Z-
dc.date.issued2022-09-22-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78073-
dc.description.abstractThis analytical research aimed to study the factors affecting the performance involving smog pollution among village health volunteers based on PRECEDE (predisposing, reinforcing and enabling factors) model. The sample group was 203 village health volunteers in Mae On District, Chiang Mai Province recruited by accidental sampling. Data were collected using questionnaires developed by the researcher. The statistics used for analyzing the data consisted of descriptive statistics including frequency, percentage, maximum value, minimum value, arithmetic mean and standard deviation and inferential statistics including Chi-square test, Pearson’s correlation and stepwise multiple regression analysis. Statistical significance was set at 0.05. The results showed that the performance on smog pollution among subjects was at high level. Subjects (26.1%) mostly agreed that they had gave the recommendation of preventing open-burning for every households while they (9.9%) less agreed that they had encouraged neighbors to discuss about smog pollution. The results from Chi’s square test showed the significant factors related to the performance involving smog pollution were community positions in the village (p-value = 0.027), attitudes regarding their duties (p-value = 0.004), reinforcing factors (p-value <0.001) and enabling factors (p-value <0.001). Linear regression analysis showed the predictive factors for health volunteer’s performance involving smog pollution which were community position, reinforcing factors and enabling factors. These factors together predicted the performance of health volunteers on smog pollution with 26.5% (Adjusted R Square = 0.258, F = 36.146, p-value < 0.01).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectFactorsen_US
dc.subjectหมอกควันen_US
dc.subjectโรคทางเดินหายใจen_US
dc.subjectการปฏิบัติหน้าที่มลภาวะหมอกควันen_US
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านen_US
dc.titleFactors affecting performance on smoke pollution among village health volunteersen_US
dc.title.alternativeปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับมลภาวะหมอกควันของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านen_US
dc.typeThesisen_US
thailis.controlvocab.thashมลพิษทางอากาศ-
thailis.controlvocab.thashหมอกควัน-
thailis.controlvocab.thashทางเดินหายใจ -- โรค-
article.epageThesis-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์ (Analytical Research) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับมลภาวะหมอกควันของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โดยใช้กรอบแนวคิด PRECEDE Model (ปังจัยนำ ปัจจัยเสริม และปัจจัยเอื้อ) ในการวิเคราะห์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 203 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ ไคสแควร์ (Chi-square test) สหสัมพันธ์ (Pearson's correlation) และการวิเคราะห์ ข้อมูลด้วยสถิติ ถดถอยแบบพหุคุณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Linear Regression) โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติหน้าที่กี่ยวกับมลภาวะหมอกควัน อยู่ในระดับมาก โดยกลุ่มตัวอย่างปฏิบัติมากที่สุดในการให้คำแนะนำในการป้องกันการเผาให้กับทุกบ้านในเขตรับผิดชอบ คิดเป็น ร้อยละ 20.1 และกลุ่มตัวอย่างปฏิบัติน้อยที่สุดกับการเป็นผู้ประสานงาน ในการนำส่งเมื่อพบผู้ป่วยที่มีอาการของโรคทางเดินหายใจกำเริบ ร้อยละ 9.9 และจากการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติหน้าที่กี่ยวกับมลภาวะหมอกควัน พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติหน้าที่ ได้แก่ การดำรงตำแหน่งอื่นๆในหมู่บ้าน ( p-value = 0.027 ) ทัศนคติในการปฏิบัติหน้ที่ (p-value = 0.004) ปัจจัยเอื้อ ( p-value = 0.000) และปัจจัยเสริม ( p-value = 0.000) สำหรับปัจจัยพยากรณ์การปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับมลภาวะหมอกควันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ พบว่า ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริม ส่งผลทางบวกต่อการปฏิบัติหน้ที่ของ อสม.เกี่ยวกับมลภาวะหมอกควัน และสามารถร่วมกันทำนายได้ร้อยละ 26.5 (Adjusted R Square = 0.258, F = 36.146, ( p-value <0.01)en_US
thesis.concealPublish (Not conceal)en_US
Appears in Collections:PH: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
602232008 นพรัตน์ คำใจ.pdf5.75 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.