Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78046
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธันยวัฒน์ รัตนสัค-
dc.contributor.authorอรรถพล วงศ์เมืองen_US
dc.date.accessioned2023-06-14T10:46:37Z-
dc.date.available2023-06-14T10:46:37Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78046-
dc.description.abstractThe objectives of this independent study are to 1) study the levels of happiness at work of Staffs in Nan Department of Provincial Administrative and 2) study the factors affecting the happiness at work of Staffs in Nan Department of Provincial Administrative. This research is conducted in a quantitative study, using a questionnaire survey to collect data. The population for the study is 59 government officers, government employees, employees, and members of the Volunteer Defense Corps serving in Nan province territory. Statistics used to analyze the data are frequency, percent, standard deviation, and simple correlation. The result has shown that 59 administration officers undergo happiness level in work life as "Happy" at 72.60%, In terms of the 7th dimension, "Happy Family" is the dimension that provides the most happiness to them at 79.20%. The 3rd dimension, "Happy Heart," and the 5th dimension, "Happy Soul," stay at 78.80% and 76.00%, respectively. For the 6th dimension, "Happy Money" provides the officers least happiness. It is at 65.60%. The results of testing hypotheses found that factors of age, work position, personnel relationship, and work condition relate to the happiness of administration personnel in Nan province, statistically significant at 0.05 The researcher recommended that the organization measures the internal happiness of the staff consecutively, as well as make annual health check to collect the data to plan, solve the problem, and develop levels of personnel's happiness. According to the further study, the analysis should include a comparison of happiness levels among the provincial officers working in other provinces or other units because there are some similar contents and duties. In short, future studies should analyze other factors affecting happiness in work life, i.e., motivation and competency of work.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสุขในการทำงานของบุคลากรที่ทำการปกครองจังหวัดน่านen_US
dc.title.alternativeHappiness at work of staffs in Nan Department of Provincial Administrativeen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashคุณภาพชีวิตการทำงาน -- น่าน-
thailis.controlvocab.thashความพอใจในการทำงาน -- น่าน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระเรื่อง ความสุขในการทำงานของบุคลากรที่ทำการปกครองจังหวัดน่าน มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา 1) เพื่อศึกษาระดับความสุขในการทำงานของบุคลากรที่ทำการปกครอง จังหวัดน่าน และ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของบุคลากรที่ทำการปกครอง จังหวัดน่าน โดยเป็นการศึกษาเชิงปริมาณและใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สำหรับประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้าง และสมาชิกกองอาสารักษา ดินแดน (อส.) ที่ปฏิบัติงานอยู่ในที่ทำการปกครองจังหวัดน่าน จำนวน 59 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทคสอบความสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า บุคลากรที่ทำการปกครองจังหวัดน่านมีระดับความสุขในการทำงานอยู่ใน ระดับมีความสุข (Happy) มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 72.60 โดยมิติที่ 7 ครอบครัวดี (Happy Family) เป็นมิติที่บุคลากรที่ทำการปกครองจังหวัดน่านมีความสุขมากที่สุด มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 79.20 รองลงมาคือ มิติที่ 3 น้ำใจดี (Happy Heart) มิติที่ 5 จิตวิญญาณดี (Happy Sou) โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 78.80 และ 76,00 ตามลำดับ สำหรับมิติที่ 6 การเงินดี (Happy Money) เป็นมิติที่บุคลากร ที่ทำการปกครองจังหวัดน่านมีความสุขน้อยที่สุด โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 65.60 ผลการศึกษา การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุและด้านประเภทตำแหน่ง ปัจจัยด้านผู้นำองค์กร ปัจจัยด้านความสัมพันธ์ของคนในองค์กร และปัจจัยด้านลักษณะงานมีความสัมพันธ์กับระดับความสุขใน การทำงานของบุคลากรที่ทำการปกครองจังหวัดน่านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ องค์กรควรมีการวัดระดับความสุขในการทำงาน ของบุคลากรอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกับการตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อนำผลข้อมูลที่ได้มาวางแผนและ ดำเนินการแก้ไขและพัฒนาระดับความสุขของบุคลากรให้ดียิ่งขึ้น โดยการส่งเสริมและสนับสนุนมิติ ความสุขที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูง และมิติความสุขที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ำควรมีการแก้ไขและปรับปรุงเพื่อให้ บุคลากรมีระดับความสุขเพิ่มขึ้น สำหรับในการศึกษาครั้งต่อไป ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบความสุขใน การทำงานของบุคลากรที่ปฏิบัติงานในเขตจังหวัดอื่นหรือราชการส่วนกลาง เนื่องจากมีบริบทภาระและ หน้าที่การบังคับใช้กฎหมายเป็นจำนวนมากที่คล้ายกัน และควรมีศึกษาปัจจัยอื่นๆ ที่อาจส่งผลต่อความสุข ในการทำงาน เช่น ปัจจัยด้านแรงจูงใจในการทำงาน ปัจจัยด้านสมรรถนะในการทำงาน เป็นต้นen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631932057 อรรถพล วงศ์เมือง.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.