Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78041
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWongkot Wongsapai-
dc.contributor.advisorWatcharapong Tachajapong-
dc.contributor.advisorNatanee Vorayos-
dc.contributor.authorPhitsinee Muangjaien_US
dc.date.accessioned2023-06-14T09:55:13Z-
dc.date.available2023-06-14T09:55:13Z-
dc.date.issued2023-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78041-
dc.description.abstractOver the past decade, the issues and effects of climate change have been gaining increased recognition. People have become increasingly more aware of the problem, recognizing its intensifying repercussions, and action has been taken to reduce the individual, social, national, and international impacts. Despite Thailand’s small contribution to global greenhouse gas emissions, the effects of climate change are felt around the world and have long-term implications. It is therefore essential to address the consequences of climate change and mitigate its impacts. To this end, a climate change policy has been developed and relevant plans and policies updated in order to reach the goal of carbon neutrality and net zero greenhouse gas emissions, which is regarded as the primary objective of climate change action today. This thesis explores the appropriate level of greenhouse gas mitigation in Thailand when accounting for the associated marginal abatement cost and social cost of carbon. It assesses the effects of energy efficiency and renewable energy technologies on greenhouse gas mitigation within the industrial and power sectors, and offers policy recommendations in line with the national policies and plans for the years 2020 to 2050. The findings from this study can be used to determine the most suitable policies and measures in terms of both the technological potential for greenhouse gas mitigation and the economic aspects that are essential for the formulation of plans, policies, roadmaps, and action plans. These will serve as guidelines to effectively aid in the realization of the country’s greenhouse gas mitigation goals in the short, medium and long term. The findings showed that when greenhouse gas mitigation policies are applied in Thailand, the cost of greenhouse gas mitigation per unit and the social cost of carbon can be divided into two cases: (i) the effect of greenhouse gas mitigation potential was above expectations or adequate to reach the greenhouse gas mitigation target, and (ii) the effect of greenhouse gas mitigation potential was below expectations or inadequate to achieve the greenhouse gas mitigation target. An interesting point was in Case 2, in which it was imperative to utilize all the technologies outlined in the marginal abatement cost curve and consider other mechanisms in various capacities, including utilization of the social cost of carbon, to inform decision-making in order to meet the desired target. The social cost of carbon should be taken into account when making decisions. Various implementations, such as emissions trading systems and carbon taxes, might be imposed to drive operational investments in greenhouse gas abatement technologies. In certain instances, it was necessary to implement additional technologies or measures when social carbon mechanisms were employed to invest in technologies with the potential to reduce greenhouse gas emissions, in order to reach the desired goals. As an example, flexible power generation and the utilization of high-cost technologies with strong potential to reduce greenhouse gases should be a priority, such as carbon capture and storage technologies or hydrogen technology for industry and power sector. Furthermore, policies and plans at multiple levels related to climate change should be adjusted and prepared for the post-2030 targeting.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectMarginal abatement costen_US
dc.subjectSocial Cost of Carbonen_US
dc.subjectOptimum Degree of Greenhouse Gas Mitigationen_US
dc.titleEffect of marginal abatement cost and social cost of carbon on optimum degree of greenhouse gas mitigation in Thailand energy sectoren_US
dc.title.alternativeผลกระทบของต้นทุนการลดก๊าซเรือนกระจกต่อหน่วยและต้นทุนทางสังคมของคาร์บอนที่มีต่อระดับการลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมที่สุดในภาคพลังงานของประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshGreenhouse gases-
thailis.controlvocab.lcshGreenhouse effect, Atmospheric-
thailis.controlvocab.lcshRenewable energy sources-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้รับความสนใจมากยิ่งขึ้น ผู้คนเริ่มรับรู้ถึงปัญหาและตะหนักถึงความรุนแรงของผลกระทบที่ค่อย ๆ เพิ่มระดับความรุนแรงที่มากยิ่งขึ้น และได้เริ่มมีการดำเนินการเพื่อที่จะบรรเทาผลกระทบที่จะเกิดขึ้นทั้งในระดับปัจเจกบุคคล ระดับสังคม ระดับชาติ และระดับนานาชาติ ถึงแม้ว่าประเทศไทยจะเป็นประเทศที่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นสัดส่วนเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดทั่วโลก แต่ผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศนั้นส่งผลกับทุกพื้นที่ประเทศทั่วโลก และส่งผลกระทบในระยะยาว จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นที่จะช่วยบรรเทาผลกระทบที่จะเกิดขึ้น โดยได้มีการจัดทำนโยบายด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและได้มีการปรับปรุงนโยบายและแผนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อที่จะตอบสนองและบรรลุต่อเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอนและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ ซึ่งนับได้ว่าเป็นเป้าหมายหลักด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในปัจจุบัน วิทยานิพนธ์นี้มุ่งเน้นศึกษาและวิเคราะห์ระดับการลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมเมื่อมีการดำเนินการด้านการลดก๊าซเรือนกระจกที่ส่งผลต่อต้นทุนการลดก๊าซเรือนกระจกต่อหน่วยและต้นทุนทางสังคมของคาร์บอนของประเทศไทย โดยพิจารณาในเทคโนโลยีด้านพลังงานที่ส่งผลต่อการลดก๊าซเรือนกระจกในด้านประสิทธิภาพพลังงานและพลังงานทดแทนในสาขาอุตสาหกรรมและการผลิตไฟฟ้า รวมไปถึงการเสนอแนะเชิงนโยบายด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่สอดคล้องกับนโยบายและแผนของประเทศ โดยกรอบระยะเวลาในการพิจารณาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563 – 2593 ผลที่ได้จากการศึกษาสามารถนำไปใช้ในการตัดสินใจเลือกใช้นโยบายหรือมาตรการที่มีความเหมาะสม ทั้งในมิติด้านเทคโนโลยี ด้านศักยภาพการลดก๊าซเรือนกระจกที่มีความเพียงพอต่อเป้าหมายหรือเป็นไปตามแผนของประเทศ และด้านเศรษฐศาสตร์ที่มีความสำคัญต่อการกำหนดแผน นโยบาย แผนที่นำทาง และแผนปฏิบัติการ ที่จะเป็นแนวทางในสนับสนุนการดำเนินการที่ทำให้มุ่งสู่เป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศทั้งในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาวได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลของการศึกษาพบว่า ระดับการลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมเมื่อมีการดำเนินนโยบายด้านการลดก๊าซเรือนกระจกที่ส่งผลต่อต้นทุนการลดก๊าซเรือนกระจกต่อหน่วยและต้นทุนทางสังคมของคาร์บอนของประเทศไทยสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กรณี คือ (1) ผลของศักยภาพการลดก๊าซเรือนกระจกอยู่ในระดับที่สูงกว่าหรือเพียงพอต่อเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจก และ (2) ผลของศักยภาพการลดก๊าซเรือนกระจกอยู่ในระดับที่ต่ำกว่าหรือไม่เพียงพอต่อเป้าหมาย ประเด็นที่น่าสนใจอยู่ที่กรณีที่ 2 ในการที่จะบรรลุตามเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีการดำเนินการในเทคโนโลยีทั้งหมดที่ระบุอยู่ในกราฟต้นทุนการลดก๊าซเรือนกระจกต่อหน่วย และการพิจารณากำหนดกลไกอื่น ๆ ในรูปแบบต่าง ๆ โดยการใช้ต้นทุนทางสังคมของคาร์บอน เข้ามาร่วมในการตัดสินใจ ซึ่งการนำมาใช้อาจกำหนดในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การค้าขายแลกเปลี่ยนก๊าซเรือนกระจก หรือภาษีคาร์บอน เพื่อผลักดันให้เกิดการตัดสินใจลงทุนดำเนินการในเทคโนโลยีการลดก๊าซเรือนกระจกที่อยู่ทางด้านขวามือของกราฟ รวมไปถึงในบางกรณีที่จำเป็นต้องมีการดำเนินการในเทคโนโลยีหรือมาตรการอื่น ๆ เพิ่มเติมเมื่อมีการใช้กลไกต้นทุนทางสังคมของคาร์บอนในการผลักดันให้มีลงทุนในเทคโนโลยีที่มีศักยภาพในการลดก๊าซเรือนกระจกแล้วแต่ยังไม่สามารถที่จะบรรลุเป้าหมายได้ เช่น การผลิตไฟฟ้าแบบยืดหยุ่นในสาขาการผลิตไฟฟ้า หรือการใช้เทคโนโลยีที่มีต้นทุนสูงแต่มีศักยภาพในการลดก๊าซเรือนกระจกสูงโดยเร็วที่สุด เช่น เทคโนโลยีการดักจับและกักเก็บคาร์บอน หรือเทคโนโลยีไฮโดรเจนในสาขาอุตสาหกรรมและการผลิตไฟฟ้า เป็นต้น นอกจากนั้นการกำหนดนโยบายและแผนในระดับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศก็ควรที่จะต้องมีการปรับและเตรียมความพร้อมในการเปลี่ยนรูปแบบของการกำหนดเป้าหมายภายหลังปี พ.ศ. 2573en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620651002-PHITSINEE MUANGJAI.pdf2.59 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.