Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78031
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรพงศ์ ตระการศิรินนท์-
dc.contributor.authorศิวเวช เวชกรen_US
dc.date.accessioned2023-06-13T10:09:25Z-
dc.date.available2023-06-13T10:09:25Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78031-
dc.description.abstractThis study on the lessons learned from the operation of the Damrongtham Center, Thoen District, Lampang Province aimed to: (1)Study the rules for solving complaints provincial and district level. (2) Explain the operation of the Damrongtham Center, Thoen District, Lampang Province. (3) Analysis of obstacles in the implementation of the Damrongtham Center, Thoen District, Lampang Province. This study was a qualitative research. By in-depth interviews with 3 groups of key informants: 2 executives, 2 operators, and 5 people who have previously entered the mediation process. The results of the study found that (1)the Ministry of Interior has laid down the working principle of the Damrongtham Center at the provincial and district levels in the same way. but using different criteria to assess success at the provincial and district levels, that is, Damrongtham Center at the provincial level uses time series assessment criteria based on complaints from 2017-2020 that can be settled in Year 2021 has a five-level scoring criterion. While the Damrongtham District Center uses the criteria Cross Sectional. The success of Damrongtham District Center is estimated from the number of settlements in each fiscal year and then taken as a percentage. (2)Operation of the Damrongtham Center, Thoen District Lampang Province found that it was in accordance with the guidelines set by the Ministry of Interior. and in accordance with Good Governance Principles and Royal Decree on Criteria and Procedures for Public Administration B.E. 2546. (3) Problems and obstacles encountered are obstacles in the complaint handling process, obstacles in the troubleshooting process and Obstacles to follow-up. (4) Recommendations for the operation of the Damrongtham Center, Thoen District, Lampang Province to be more efficient and effective should be added in 5 terms : (1) In terms of manpower, the Department of Provincial Administration should increase the manpower of district officials. (2) For the building and premises, there should be a separate room for justice. (3) The reporting system should reduce the reporting format to a single format. (4) Knowledge development Law training should be provided to all government officials - all officers. (5) Should allow the Dharma Center to use the existing budget of the district.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการถอดบทเรียนการดําเนินงานของศูนย์ดํารงธรรม อําเภอเถิน จังหวัดลําปางen_US
dc.title.alternativeLessons learned from operations of Damrongtham Center, Thoen District, Lampang Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashศูนย์ดํารงธรรม -- เถิน(ลําปาง)-
thailis.controlvocab.thashการบริหารรัฐกิจ -- เถิน(ลําปาง)-
thailis.controlvocab.thashธรรมรัฐ -- เถิน(ลําปาง)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่องการถอดบทเรียนการดำเนินการ ของศูนย์ดำรงธรรมอำเภอเกิน จังหวัดลำปาง มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาหลักเกณฑ์ในการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียน ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ (2)อธิบายการดำเนินงานของศูนย์ดำรงธรรมอำเภอเถิน จังหวัดลำปาง และ (3) วิเคราะห์อุปสรรคใน การดำเนินการของศูนย์ดำรงธรรมอำเภอเถิน จังหวัดลำปาง การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) 3 กลุ่ม คือ ผู้บริหาร จำนวน 2 คน ผู้ปฏิบัติงานจำนวน 2 คน และผู้ที่เคยเข้าสู่กระบวนการไกล่เกลี่ย 5 คน ผลการศึกษาพบว่า (1) กระทรวงมหาดไทยได้วางหลักการทำงานของศูนย์ดำรงธรรมในระดับจังหวัดและอำเภอเป็นไป แนวทางเดียวกัน แต่ใช้เกณฑ์การประเมินความสำเร็จในระดับจังหวัดและอำเภอต่างกัน กล่าวคือ ศูนย์ดำรงธรรมในระดับจังหวัดใช้เกณฑ์การประเมินในลักษณะอนุกรมเวลา (Time Series) โดยประเมินจากเรื่องร้องเรียนตั้งแต่ ปี 2560-2563 ที่สามารถยุติเรื่องได้ในปี 2564 มีเกณฑ์การให้ คะแนน ร ระดับ ในขณะที่ศูนย์ดำรงธรรมอำเภอจะใช้เกณซ์ ตัวชี้วัดการประเมินการประเมินใน ลักษณะกากตัดขวาง (Cross Scctiona) ความสำเร็จของศูนย์ดำรงธรรมอำเภอประเมินจากจำนวนการ ยุดิเรื่องในแต่ละปีงบประมาณแล้วนำมาคิดเป็นร้อยละ (2) การดำเนินการศูนย์ดำรงธรรมอำเภอเถิน จังหวัดลำปางพบว่าเป็นไปตามแนวทางที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด และสอดคล้องกับ หลักธรรมาภิบาลและพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารบ้านเมือง พ.ศ 2546 (3) ปัญหาและอุปสรรถที่พบ ได้แก่ ปัญหาอุปสรรคในขั้นตอนการรับเรื่องร้องเรียน ปัญหาอุปสรรค ในขั้นตอนการดำเนินการแก้ไขปัญหา และปัญหาอุปสรรคในการติดตามผล (1) ข้อเสนอแนะเพื่อให้ การดำเนินงานของศูนย์ดำรงธรรมอำเภอเฉิน จังหวัดลำปาง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้นควรมีการเพิ่มเติมใน 5 ด้าน คือ (1) ด้านอัตรากำลังกรมการ ปกครองควรเพิ่มอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ ประจำอำเภอ (2) ด้านอาคารสถานที่ควรมีห้องอำนวยความเป็นธรรมที่จัดเป็นสัดส่วนแยกต่างหาก (3)ด้านระบบการรายงานควรลดรูปแบบกรรายงานลงให้เหลือรูปแบบเดียว (4) ด้านการพัฒนาองค์ ความรู้ ควรจัดอบรมกฎหมายให้ข้าราชการ-เจ้าหน้าที่ทุกคน (5) ด้านการมีส่วนร่วมควรเปิดโอกาส ให้ศูนย์ดำรงธรรมใช้งบประมาณที่มี่อยู่ของอำเภอen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631932051 ศิวเวช เวชกร.pdf2.18 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.