Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78024
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมเกียรติ อินทสิงห์-
dc.contributor.advisorนทัต อัศภาภรณ์-
dc.contributor.authorพิรดา ผาคำen_US
dc.date.accessioned2023-06-13T08:55:21Z-
dc.date.available2023-06-13T08:55:21Z-
dc.date.issued2021-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78024-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to study the digital competency of undergraduate students, and 2) to design the digital competency enhancement guidelines for undergraduate students at Faculty of Education, Chiang Mai University. The sample of this study consisted of 340 undergraduate students at Faculty of Education, Chiang Mai University, obtained based on a simple random sampling. The sample size was calculated based on a Yamane’s formula with a given confidence level of 95%. Digital competency enhancement guidelines was assessed by 8 experts. Research instruments for data collection comprised digital competency scale, focus group recording form, and digital competency enhancement guidelines assessment form. Quantitative data were analyzed using statistics including mean and standard deviation. Qualitative data were analyzed using content analysis and then synthesized to obtain the issues. The results of the research could be summarized as follows: 1. Overall digital competency of the sample was at a high level (x̅ = 3.91). When individual aspects were considered, an aspect with the highest mean was tools and technology, followed by retrieval and usability, identity and quality of life, teaching or learning, and communication and coordination, which were at a high level, and creativity and innovation, which was at a moderate level of digital competence. 2. Five digital competency enhancement guidelines consisted of curriculum, teaching and learning, learning assessment, learning support, and the development of teachers. The suitability of the said guidelines was assessed by 8 experts at the highest level (µ = 4.57) and the feasibility was at a high level (µ = 4.28).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectdigital competenceen_US
dc.subjectทักษะดิจิทัลen_US
dc.subjectสมรรถนะดิจิทัลen_US
dc.titleแนวทางการส่งเสริมสมรรถนะดิจิทัลของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในยุคการศึกษา 4.0en_US
dc.title.alternativeDeveloping digital competence enhancement guidelines for Bachelor Degree students of the Faculty of Education, Chiang Mai University, in the Education 4.0 Eraen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashทักษะดิจิทัล-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะศึกษาศาสตร์ -- นักศึกษา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสมรรถณะดิจิทัลของนักศึกษา และ 2) ออกแบบแนวทางการส่งเสริมสมรรถนะดิจิทัลของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บรวบรวบรวมข้อมูล ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 340 คน ได้มาจากวิธีการสุ่มอย่างง่าย คำนวณตามตารางของ Yamane ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการประเมินแนวทางการส่งเสริมสมรรถนะดิจิทัล คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบวัดสมรรถนะดิจิทัล แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม และแบบประเมินแนวทางการส่งเสริมสมรรถนะดิจิทัล การวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติค่าเฉลี่ย และส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและสังเคราะห์ประเด็น ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. สมรรถนะดิจิทัลของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X = 3.91) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านเครื่องมือและเทคโนโลยีมีระดับสมรรถณะดิจิทัลอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการสืบค้นและการใช้งานค้านเอกลักษณ์และคุณภาพชีวิต ค้านการสอนหรือการเรียนรู้ และค้านการติดต่อสื่อสารและการประสานงาน มีระดับสมรรถนะดิจิทัลอยู่ในระดับมาก และด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม มีระดับสมรรถนะดิจิทัลอยู่ในระดับปานกลาง 2. แนวทางการส่งเสริมสมรรถนะดิจิทัลของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีทั้งหมด 5 ด้าน ได้แก่ ด้านหลักสูตร ด้านการเรียนการสอน ด้านการประเมินการเรียนรู้ ด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และด้านการพัฒนาอาจารย์ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 8 คน ประเมินความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (µ = 4.57) และความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก (µ = 4.28)en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610232026 พิรดา ผาคำ.pdf4.29 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.